Page 190 -
P. 190

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                       7-25




                   พิพาทเกี่ยวกับการใช้น้้าของราษฎร ทั้งนี้ โดยอาจจะได้รับค้าแนะน้าจากเจ้าหน้าที่หน่วยส่งเสริมกิจกรรม

                   ต่อเนื่อง หรือคณะท้างานสนับสนุนการปฏิบัติการพัฒนาชนบทระดับต้าบล (คปต.)
                                         “การบ้ารุงรักษา” หมายความว่า การดูแล บ้ารุงรักษา ซ่อมแซม โครงการ แหล่ง

                   น้้าขนาดเล็กให้อยู่ในสภาพดี และสามารถใช้ประโยชน์ได้ โดยงบประมาณขององค์การบริหารส่วนท้องถิ่น
                   หรือเงินของประชาชนที่ได้รับประโยชน์บริจาคให้ภายในขีดความสามารถของหน่วยงานแต่ละระดับ หาก

                   เกินขีดความสามารถให้ขอรับการสนับสนุนและขอความช่วยเหลือไปยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง”

                                  วันที่ 27  กรกฎาคม 2525 คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบให้ส้านักงานคณะกรรมการ
                   สิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ด้าเนินการก้าหนดชั้นคุณภาพลุ่มน้้าที่ส้าคัญของประเทศไทย

                                  และวันที่ 20  พฤษภาคม 2526  พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ นายกรัฐมนตรีได้แถลงนโยบาย
                   ของรัฐบาล คณะที่ 43 ต่อรัฐสภา มีส่วนที่เกี่ยวข้องกับการชลประทานในนโยบายเศรษฐกิจ ดังนี้

                                         “จะช่วยเหลือเกษตรกรในท้องที่แห้งแล้งโดยการจัดหาและพัฒนาแหล่งน้้าใน

                   ระดับไร่นาอย่างกว้างขวาง” (ส้านักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2540: 283)

                           นโยบายน ้าในช่วงแผนพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2525-2529)
                                  แผนพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 5  (พ.ศ.  2525-2529)  ได้มีส่วนที่

                   เกี่ยวข้องกับการชลประทานในแนวนโยบาย และมาตรการการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ ดังนี้

                                         “4.2.1 การเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ
                                                 (1) เร่งปรับปรุงและขยายพื้นที่ในเขตชลประทานที่มีอยู่เดิม ประมาณ 16

                   ล้านไร่ ให้ใช้ประโยชน์ได้เต็มที่โดยเฉพาะการเพาะปลูกในฤดูแล้ง
                                                 (2)  เร่งด้าเนินการพัฒนาลุ่มน้้าซึ่งยังไม่มีการพัฒนามาก เพื่อน้าน้้า

                   มาใช้ให้เป็นประโยชน์มากขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่ง คือ ลุ่มน้้าวัง ลุ่มน้้ายม ลุ่มน้้าป่าสัก ลุ่มน้้าสะแกกรัง ลุ่ม

                   น้้าบางปะกง ลุ่มน้้าระยอง และลุ่มน้้าจันทบุรี
                                                (3)  เร่งรัดพัฒนาแหล่งน้้าขนาดเล็ก ให้กระจายออกไปในพื้นที่ที่อยู่นอก

                   เขตชลประทานเพื่อใช้เป็นแหล่งน้้าเสริมที่จะช่วยลดภาวะความไม่แน่นอนของธรรมชาติ
                                                 (4)  ด้าเนินการส้ารวจเพื่อวางแผนผันน้้าจากแม่น้้าโขงเข้ามาเพิ่มเติม

                   ได้แก่ ลุ่มน้้าเจ้าพระยา และภาคตะวันออกเฉียงเหนือส้าหรับใช้ประโยชน์ด้านชลประทานในระยะยาว

                                                (5)  ด้าเนินการเก็บเงินค่าน้้าจากพื้นที่ในเขตชลประทาน เพื่อให้มี
                   การใช้น้้าอย่างประหยัด และมีประสิทธิภาพประการหนึ่ง และเพื่อให้สามารถเก็บเงินลงทุนคืนกลับมาใช้

                   เร่งรัดการขยายพื้นที่เขตชลประทานต่อไป อีกประการหนึ่ง

                                                (6) ด้าเนินการปรับปรุงโครงสร้างองค์กร และกลไกการบริหารงานของ
                   หน่วยราชการต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานพัฒนาแหล่งน้้าทั้งในระดับนโยบายและระดับหน่วยงานปฏิบัติ

                   เพื่อให้สามารถประสานการพัฒนาแหล่งน้้าของประเทศ ให้ด้าเนินการไปในทิศทางเดียวกันอย่างเป็นระบบ
   185   186   187   188   189   190   191   192   193   194   195