Page 22 -
P. 22
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
1-3
(3) ข้อมูลที่ใช้ในกำรศึกษำ
ที่มาของข้อมูลนโยบายการเกษตรไทยที่จะท าการรวบรวมนั้น จะมาจากจดหมายเหตุ
กฎ และระเบียบ ค าแถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรีต่อรัฐสภา มติคณะรัฐมนตรี แผนพัฒนาเศรษฐกิจและ
สังคมแห่งชาติฉบับที่ 1-11 แผนบริหารราชการแผ่นดิน มติของคณะกรรมการที่เกี่ยวข้องกับการเกษตร
นโยบายของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และเหตุการณ์ที่ส าคัญที่เกี่ยวข้องกับการเกษตร
1.4 ค ำจ ำกัดควำม
“นโยบำย” หมายถึง หลักและวิธีปฏิบัติ ซึ่งถือเป็นแนวด าเนินการ (พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิต
สถาน พ.ศ. 2546: 563)
“เกษตร” หมายถึง ที่ดิน ทุ่งนา ไร่ (พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตสถาน พ.ศ. 2546: 144)
“เกษตรกรรม”
(1) “เกษตรกรรม” หมายถึง การใช้ที่ดินเพาะปลูกพืชต่างๆ รวมทั้งการเลี้ยงสัตว์ การ
ประมงและการป่าไม้ (พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตสถาน พ.ศ. 2546: 144)
(2) ตามความหมายในมาตรา 4 พระราชบัญญัติจัดรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2517
“เกษตรกรรม” หมายความว่า การท านา ท าไร่ ท าสวน เลี้ยงสัตว์ เลี้ยงสัตว์น้ า เลี้ยง
ผึ้ง เลี้ยงไหม เลี้ยงครั่ง เพาะเห็ด และการอื่นตามที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ประกาศก าหนดในราชกิจจานุเบกษา
(3) ตามความหมายในมาตรา 5 พระราชบัญญัติการเช่าที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ.
2524
“เกษตรกรรม” หมายความว่า การท านา ท าสวน ท าไร่ ท านาเกลือ เลี้ยงสัตว์ เลี้ยง
สัตว์น้ า และกิจการอื่นตามที่ก าหนดในกฎกระทรวง
(4) ตามความหมายในมาตรา 3 พระราชบัญญัติกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร พ.ศ. 2517
“เกษตรกรรม” หมายความว่า การท านา ท าไร่ ท าสวน เลี้ยงสัตว์ เลี้ยงสัตว์น้ า เลี้ยงผึ้ง
เลี้ยงไหม เลี้ยงครั่ง เพาะเห็ด การประมง และเกษตรกรรมอื่นตามที่รัฐมนตรีก าหนดโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา
(5) ตามความหมายในมาตรา 4 พระราชบัญญัติการปฎิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2518
“เกษตรกรรม” หมายความว่า การท านา ท าไร่ ท าสวน เลี้ยงสัตว์ เลี้ยงสัตว์น้ า
และกิจการอื่นตามที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ก าหนดโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา
“เกษตรกร”
(1) “เกษตรกร” หมายถึง ผู้ท าเกษตรกรรม (พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตสถาน, 2546: 144)
(2) ตามความหมายในมาตรา 3 พระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2532