Page 13 -
P. 13

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว





                                                                                                     11








                 ดานเงินทุน


                                1. งบประมาณการลงทุนในการทําไรนาสวนผสมในระยะแรกจะมี

                  คาลงทุนคอนขางสูง เชน การปรับสภาพพื้นที่ปลูกพืช การขุดบอปลาเพื่อสรางแหลงน้ํา

                  การสรางโรงเรือนและอุปกรณการเกษตร ตลอดจนคาใชจายที่เกิดขึ้นในระยะแรก ๆ ของ
                  การผลิตกิจกรรม ( คาใชจายที่เกิดขึ้นกอนกิจกรรมจะเริ่มใหผลผลิต ) ดังนั้นควร

                  พิจารณากิจกรรมเสริมใหผลเร็วในชวงแรก ๆ เพื่อที่จะนํารายไดมาเพื่อการดํารงชีพและ
                  ดําเนินการผลิต


                                2. งบประมาณคาใชจายในการดําเนินการผลิตไรนาสวนผสมตอง

                  พิจารณาถึงชนิดและจํานวนกิจกรรมเพื่อใหสอดคลองกับงบประมาณเงินทุนที่มีอยู
                  คาใชจายดังกลาวเปนคาใชจายดานพันธุพืช/สัตว คาปุยเคมี อาหารสัตว คาสารเคมี

                  คาแรงงานจางและอื่น ๆ ซึ่งจะตองหมุนเวียนเกิดขึ้นในฟารมอยูตลอดเวลาในชวง
                  การผลิตนั้น ๆ

                                3. ในกรณีที่เกษตรกรกูยืมเงินจากแหลงสถาบันการเงินควรตระหนักถึง

                  การวางแผนการใชจายเงินและผลตอบแทนในลักษณะกระแสเงินสดของฟารม(รายได
                  รายจายในแตละเดือนหรือแตละป )

                                     3.1 พิจารณารายจายที่เกิดขึ้นในแตละชวงและเวลาชนิดกิจกรรม
                  ในดานงบเงินคาลงทุนและเงินคาใชจายในการดําเนินการผลิต

                                     3.2 พิจารณาผลตอบแทน ( รายได ) จากกิจกรรมแตละชนิดและ
                  แตละชวงเวลาใหเกิดรายไดสูงกวารายจายและเพียงพอตอการดํารงชีพและการผลิต


                                     3.3 การชําระเงินคืนแกสถาบันการเงินวา ควรจะเปนเงินตนและ
                  ดอกเบี้ยเทาไหรนั้น ควรพิจารณาเงินทุนที่เกษตรกรจะตองใชจริงในชีวิตประจําวัน เชน

                                       - เงินทุนสําหรับเพื่อการดํารงชีพในรัวเรือนทั้งดานอุปโภคและบริโภค


                                       - เงินทุนสําหรับคาใชจายทั่วไป เชน ดานสังคม ดานการศึกษา
                  ดานศาสนา  ดานบันเทิง

                                       - เงินทุนสําหรับดานการลงทุนในการผลิตกิจกรรมตอไป

                                       - เงินทุนสําหรับดานประกันสังคมการดํารงชีพ กลาวคือ ความเสี่ยง
                  ทั้งดานการดํารงชีพและดานการผลิต

                                       - เงินทุนสํารอง หรือเก็บออมเพื่ออนาคต
                                           -  อื่น ๆ

                                           กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร    สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี   กรมสงเสริมการเกษตร
   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18