Page 10 -
P. 10

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว





                                                                                                      8







                   การพิจารณารูปแบบการทําไรนาสวนผสม





                  ดานพื้นที่



                                1.  เกษตรกรแบงพื้นที่บางสวนมาจัดทําไรนาสวนผสมซึ่งในระยะแรก


                  รายไดที่เกิดจากการทําไรนาสวนผสม ยังมีรายไดไมมากนัก จะมีรายไดจากบางสวนของ

                  กิจกรรมเทานั้น เชน  พืชผัก  พืชไร  ไมดอกไมประดับ  สัตวและประมง



                                2.  ในกรณีสภาพพื้นที่ลุมหรือพื้นที่ทํานาเดิม หากเกษตรกรคิดจะปลูก



                  ไมผลควรที่จะยกรองไมผลและมีคันดินลอมรอบแปลงไมผล เนื่องจากในฤดูฝนจะมี

                  น้ํามาก อาจจะทวมแปลงทําใหเกิดความเสียหายได



                                3.ในกรณีสภาพพื้นที่คอนขางลุมมากมีน้ําทวมเปนประจํา เกษตรกรอาจจะ

                  ขุดบอเพื่อเลี้ยงปลาหรือทํานาบัว  นาผักบุง  นาผักกระเฉด  เปนตน



                                4.  สําหรับพื้นที่ดอนในการทําสวนไมผลควรมีสภาพพื้นที่มีความลาดชัน


                  ไมเกิน 30% สภาพดินมีหนาดินลึกกวา 1 เมตร และดินชั้นลางตองไมเปนดินดานแข็ง



                  หรือศิลาแลง


                                5.  ในกรณีที่สภาพดินที่มีปญหา เชน ดินเค็ม ดินเปรี้ยว และดินที่มีปญหาอื่นๆ


                  ควรดําเนินการปรับปรุงดินเหลานี้เสียกอน โดยวิธีการทางวิชาการ เชน การเพิ่มวัสดุลงไป


                  ในดิน ( ปูนขาว  ปูนมารล  แกลบ เปนตน ) การใสปุยคอกหรือปุยหมัก การทําปุยพืชสด


                  การปลูกพืชหมุนเวียนบํารุงดิน  เปนตน





                                           กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร    สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี   กรมสงเสริมการเกษตร
   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15