Page 99 -
P. 99

ิ
                                               ์
                                ื
                                   ิ
                                                                               ั
                                                                                       ุ
                                                   ิ
                                                              ิ
           โครงการพัฒนาหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรต สมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร                  ี
                                                                                                        73


                       ใหผาผืนใหญเคลื่อนไหวไปดวย  ซึ่งผูชมสามารถมีปฏิสัมพนธกับความสนใจในสิ่งตางๆ  ในงานเพอให
                                                                      ั
                                                                                                      ื่
                       เกิดความมีชีวิตชีวาขึ้นมา   และยังไดรวมกันสรางความหมายใหกับกิจกรรมที่ศิลปนไดเตรียมไวใหม ี
                       ความสมบูรณยิ่งขึ้น
                                                              ี่
                              ศิลปนนำเสนอความรูสึกของการแกวงทมีความเปนอิสระจากแรงดึงดูดของโลก  การไดเลน
                                      ิ
                       และแสดงออกในกจกรรมตางๆ  ศลปนยังนำความทรงจำในวัยเด็กที่รูสึกถึงบรรยากาศของการอาน
                                                     ิ
                                             
                       หนังสือของคณยาย  ไมวาจะเปนเสียงของการเปดหนาหนังสือ  เสียงนกรองและสภาพแวดลอมรอบๆ
                                 ุ
                                                                               ี
                       เปาหมายของศิลปนคอ  ตองการใหผูชมไดแสดงออกถึงความรูสึกที่มความสัมพันธเชื่อมโยงซึ่งกนและ
                                        ื
                                                                                                     ั
                        ั
                       กน ในบทบาทของศิลปะที่เรียกวา สุนทรียะเชิงสัมพันธ (Relational aesthetics) ซึ่งเหตุการณตางๆ
                                                                     ี
                                          
                       ที่เกิดขึ้นลวนไมซ้ำกันไดกระตุนการรับรูของผูชม   อกทั้งเงื่อนไขของการเกิดเหตุการณที่ศิลปนได
                       จำลองขึ้นเพื่อใหผูชมไดมีสวนรวมและปฏิสัมพันธกับการเคลื่อนไหว  เสียง  และผืนผาขนาดใหญท ี่
                                                                 
                                          
                       เคลื่อนทไปมา เพื่อสะทอนเรื่องการมีสวนรวมของผูคนในสังคม ประวัติศาสตร และความทรงจำที่เรา
                              ี่
                               ี
                                                                                        ี่
                       สามารถมพื้นที่รวมกันสำหรับกิจกรรมตางๆ อีกทั้งเปนการสรางสภาพแวดลอมทมีความเอื้ออาทรและ
                       ตะหนักถึงความรูสึกของการเปนมนุษย
                                                                       ั
                                           ี่
                              พื้นท  (site)  ทเปนกายภาพและมีความสัมพันธกบแนวคิดและรูปแบบของงานศิลปะที่สงผล
                                  ี่
                       ตอการติดตั้ง พื้นที่ในงานศิลปะกับมุมมองทางสุนทรียศาสตรของโรซาลิน เคราส (Rosalind Krauss)
                       ทำใหเราเขาใจแนวคิดและวิธีการสรางสรรคผลงานศิลปะของศิลปนในยุคทศวรรษที่ 60 - 70 ทีมการ
                                                                                                      ี
                                                                                                     ่
                                                                ี่
                       ใหคำนิยามงานประติมากรรมและผลงานที่กินพื้นทในการติดตั้งไดขยายขอบเขตไปจากเดิม  ประกอบ
                        ั
                          ุ
                                                               ่
                       กบมมมองของแคลร บิชอพ (Claire Bishop) ทีใหความสำคัญกับการมีสวนรวมในประสบการณทาง
                       สุนทรียะของผูชม  รวมถึงการติดตั้งผลงานไดชวยในเรื่องการสำรวจสภาพแวดลอมทอยูรอบๆ  ตัว
                                                                                             ี่
                       ผลงาน  พื้นที่กับการติดตั้งโดยเฉพาะงานแลนดอารต  (Land  art)  และงานประเภทศิลปะการจัดวาง
                                        ี
                                        ่
                       (Installation art) ทตอมาไดพัฒนาการแสดงออกในรูปแบบผลงาน Immersive installation art ที ่
                       มีการขยายการใหความหมายเรื่องพื้นที่ออกไปจากเดิม  ทงเรื่องการติดตั้งผลงานศิลปะและการสราง
                                                                       ั้
                                                                                             ี่
                       สภาพแวดลอมของตัวผลงานเพื่อใหผูชมไดรับรูผลงานผานประสาทสัมผัสไดอยางเต็มท  อีกทั้งยังเปด
                                        ึ
                       โอกาสใหผูชมไดเขาถงผลงานทั้งทางกายภาพ และแนวคิดในการสรางสรรคของศิลปน
   94   95   96   97   98   99   100   101   102   103   104