Page 22 -
P. 22
ั
ิ
์
ุ
ื
ิ
ิ
ิ
โครงการพัฒนาหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรต สมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร ี
บทที่ 4
ผลการวิจัย และวิเคราะห ์
การศึกษาและวิเคราะห์มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความพึงพอใจในการใช้สื่อประชาสัมพันธ์หนังสือ
อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) หลักสูตรที่เปิดสอนของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ในการประชาสัมพันธ์การแนะแนว
การศึกษาให้แก่นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ซึ่งหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) นี้เป็นนวัตกรรมใหม่ของงาน
แนะแนวการศึกษาจากการใช้สื่อประชาสัมพันธ์หลักสูตรฯ ในรูปแบบรูปเล่มเพื่อเผยแพร่ และพัฒนาสร้างรูปแบบให้
ทันสมัยและเข้าถึงง่ายให้เป็นสื่อในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ และหาแนวทางการพัฒนาสื่อประชาสัมพันธ์ให้เหมาะสม
และตรงตามต้องการของผู้รับริการต่อไป
ซึ่งผลการวิเคราะห์แบ่งออกเป็น จากผลการประเมินการพัฒนาสื่อการประชาสัมพันธ์ข้อมูลหลักสูตรที่เปิด
สอนในมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ในรูปแบบหนังสืออเล็กทรอนิกส์ (E-book) ของอาจารย์แนะแนว และบุคลากรของ
ิ
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ รวมทั้งผลการจัดกิจกรรมประชาสัมพันธ์แนะแนวการศึกษาเชิงรุกในรูปแบบออนไลน์
ระหว่างเดือนมกราคม-มิถุนายน ปีพ.ศ.2565 ผลการจัดกิจกรรมประชาสัมพันธ์แนะแนวการศึกษาเชิงรุกในรูปแบบ
ปกติ ระหว่างเดือนสิงหาคม-ธันวาคม พ.ศ.2565 และผลการจัดกิจกรรมประชาสัมพันธ์แนะแนวการศึกษาเชิงรุกใน
รูปแบบปกติ พ.ศ.2566 ในการใช้สื่อประชาสัมพันธ์หลักสูตรหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book)
การนำเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลของการศึกษา เรื่อง การพัฒนาหนังสือแนะแนวการศกษาอิเล็กทรอนิกส์ที่
ึ
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จาก Hard copy To Electronic book (E-book) : การศึกษาเรื่องความพึงพอใจของ
ผู้ใช้และผลกระทบ ผู้วิจัยแบ่งการวิเคราะห์ออกเป็นขั้นตอน เพื่อให้เกิดความเข้าใจที่ตรงกันในการแปลความหมาย
ของผลการวิเคราะห์ข้อมูล จึงกำหนดสัญลักษณ์ และอักษรย่อในการวิเคราะห์ข้อมูล ดังนี้
สัญลักษณ์ที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล
n แทน ขนาดกลุ่มตัวอย่าง
x แทน ค่าคะแนนเฉลี่ย (Mean) ของกลุ่มตัวอย่าง
̅
S.D. แทน ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard deviation)
t แทน ค่าสถิติที่ใช้พิจารณา – t-distribution
SS แทน ผลรวมกำลังสองของคะแนน (Sum of square)
MS แทน ค่าประมาณความแปรปรวนของคะแนน (Mean of square)
F แทน ค่าสถิติที่ใช้พิจารณา F-distributio
P แทน ค่าความน่าจะเป็น (Probability)
* แทน นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
ผลการวจัย
ิ
การใช้งาน E-book หลักสูตรที่เปิดสอนในมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
จากผลการศกษาเพื่อพัฒนาการจัดทำสื่อสิ่งพิมพ์ในการประชาสัมพันธ์หลักสูตรของมหาวิทยาลัย
ึ
ี
เกษตรศาสตร์ กล่าวคือ ได้ลดจำนวนการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ และลดภาวะโลกร้อนอกทั้งยังสามารถลดค่าใช้จ่ายในการ
จัดพิมพ์เอกสารได้อีกทางหนึ่ง จึงได้ทำการศึกษา และจัดทำการประเมินการใช้งาน E-book จากผู้ใช้งานโดยแบ่งเป็น
2 กลุ่มคือ ภายใน และภายนอกมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ที่นำผลงานนี้ไปใช้ประโยชน์ได้จริง กลุ่มภายนอก คือ
อาจารย์แนะแนวในโรงเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย กลุ่มภายใน คือ บุคลากรที่ปฏิบัติงานภายใน
ึ
ึ
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ อาทิ ผู้ปฏิบัติงานด้านประชาสัมพันธ์แนะแนวการศกษาให้นักเรียนมัธยมศกษาตอนปลาย
ในส่วนของวิทยาเขตต่าง ๆ รวมทั้งคณาจารย์แต่ละคณะ /ภาควิชาของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ที่สามารถสะท้อน
Development of Electronic Guidance Books at Kasetsart University from Hard Copy to E-book : A Study of User Satisfaction and Impact 21 | P a g e