Page 78 -
P. 78
์
ิ
ิ
ื
ิ
ิ
โครงการพัฒนาหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
คาอธิบายการบันทึกข ้อมูล ตารางที่ 1
จานวนต ้นหลังการถอนแยก (Number of Plants after Thinning): ทันทีที่ถอนแยกเสรจ จะทาการ
็
ั
นบจานวนต ้นต่อแถวในแต่ละแปลงย่อยของ 2 แถวกลาง (แถวที่ 2-R2 และแถวที่ 3-R3 ในกรณีที่
ปลูก 4 แถวต่อแปลงย่อย)
จานวนและชนิดของวัชพืชคร้งที่ 1 (First Weeds Counting): เมื่อข ้าวโพดอายุ 3-4 สัปดาห์ (ก่อน
ั
ั
การพ่นสารเคมีคร้งที่ 2) ทาการนับจานวนวัชพืชแยกประเภท ได ้แก่ประเภทกก เช่นแห ้วหมู
(Nutsedge) ประเภทใบกว ้าง (Broad Leaf) และประเภทใบแคบ (Narrow Leaf) โดยบันทึกใน
ั
พื้นที่ 0.25 ตารางเมตร 2 คร้ง = 0.5 ตารางเมตร ใน 2 แถวกลางของแต่ละแปลงย่อย
่
็
ั
ค่าความเปนพิษคร้งที 1 (First Injury Scoring): เมื่อข ้าวโพดอายุ 3-4 สัปดาห์ (ก่อนการพ่น
็
สารเคมีคร้งที่ 2) ทาการให ้คะแนนความเปนพิษ (injury) ที่เกิดจากการใช ้ สารเคมีประเภท pre-
ั
emergence ต่อทั้งวัชพืช (weeds) และต ้นข ้าวโพด (Corn) แต่ละแปลงย่อย โดยให ้คะแนน 0 =
ไม่เปนพิษ ในขณะที่คะแนน 40-60 = เปนพิษปานกลาง และคะแนน 100 = วัชพืชและต ้นข ้าวโพด
็
็
ตายทั้งหมด
นับจานวนต้น - ประเมินค่าความเป็ นพิษต่อพันธุ์ข้าวโพด -→→ ประเมินลักษณะต้น
วันโปรยละอองเกสรและวันออกไหม 50 เปอร์เซ็นต์ (Days to 50% Anthesis and 50% Silking):
เมื่อสังเกตุเห็นว่าช่อดอกตัวผู้ มีการโปรยละอองเกสร (Anthesis) จานวน 50 เปอร์เซ็นต์ ของช่อ
ดอกทั้งหมดในแต่ละแปลงย่อย ทาการบันทึกข ้อมูลวันออกดอก “Days to 50% Anthesis” ในขณะ
ที่ เมื่อต ้นข ้าวโพดในแต่ละแปลงย่อย มีการออกไหมยาว 1-2 cm จานวน 50 เปอร์เซ็นต์ของจานวน
ต ้นทั้งหมด ท าการบันทึกข ้อมูลวันออกไหม “Days to 50% Silking” การบันทึกข ้อมูลลักษณะการ
ออกดอกนี้ ควรกระท าทุกวันและในเวลาเดียวกัน
การระบาดของโรคทางใบ (Leaf Diseases Scoring): เมื่อข ้าวโพดอายุได ้ 75-80 วันหลังปลูก หรือ
3-4 สัปดาห์หลังวันออกไหม จะทาการบันทึกข ้อมูลจากการสังเกตุด ้วยสายตาของการระบาดของ
โรคและแมลงศัตรูที่ส าคัญของข ้าวโพด อันได ้แก่ โรคใบไหม ้ (Leaf Blight) โรคราสนิม (Rust)
็
็
และโรคเขม่าด า(Smut) เปนต ้น การบันทึกข ้อมูลจะเปนการให ้คะแนน (scoring) ในแต่ละแปลง
่
ย่อย 1 – 5 โดยคะแนน 1 = มีการระบาดท าลายน้อยกว่า 10% ในขณะทีคะแนน 3 = มีการระบาด
ทาลายประมาณ 50% และคะแนน 5 = มีการระบาดท าลายมากกว่า 70%
จานวนและชนิดของวัชพืชคร้งที่ 2 (Second Weeds Counting): ในระยะ 1-2 สัปดาห์หลังการพ่น
ั
สารก าจัดวัชพืชแบบ post emergence ทาการนบจานวนวัชพืชแยกประเภท ได ้แก่ประเภทกก เช่น
ั
แห ้วหมู (Nutsedge) ประเภทใบกว ้าง (Broad Leaf) และประเภทใบแคบ (Narrow Leaf) โดย
ั
บันทึกในพื้นที่ 0.25 ตารางเมตร 2 คร้ง = 0.5 ตารางเมตร ใน 2 แถวกลางของแต่ละแปลงย่อย
ค่าความเปนพิษคร้งที 2 (Second Injury Scoring): ในระยะ 1-2 สัปดาห์หลังการพ่นสารก าจด
็
่
ั
ั
วัชพืชแบบ post emergence ทาการให ้คะแนนความเปนพิษ (injury) ที่เกิดจากการใช ้ สารเคมีต่อ
็
ทั้งวัชพืช (weeds) และต ้นข ้าวโพด (Corn) ของแต่ละแปลงย่อย โดยคะแนน 0 = ไม่เป็นพิษ
ในขณะทีคะแนน 40-60 = เปนพิษปานกลาง และคะแนน 100 = วัชพืชและต ้นข ้าวโพดตาย
่
็
ทั้งหมด
คาอธิบายการบันทึกข ้อมูล ตารางที่ 2
ลักษณะความสูงต ้นและความสูงต าแหนงฝก (Plant Height and Ear Height Measurements):
่
ั
เมื่อข ้าวโพดถึงระยะการเจริญเติบโตเต็มที่แล ้วคือประมาณ 85 วันหลังปลูก จนถึง ประมาณ 1
่
ั
สัปดาห์ก่อนการเก็บเกี่ยว จะทาการสุ่มวัดความสูงของล าต ้นและความสูงของต าแหนงฝก มีหน่วย
็
เปนเซ็นติเมตร จานวน 5 ต ้นต่อแปลงย่อย (Plant 1 – Plant 5 และ Ear 1 – Ear 5) โดยความสูง
77