Page 66 -
P. 66
์
ิ
ิ
ื
ิ
ิ
โครงการพัฒนาหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
็
็
เพลี้ยอ่อน (Aphids) และหนู (Mouses) เปนต ้น การบันทึกข ้อมูลจะเปนการให ้คะแนน (scoring) ใน
แต่ละแปลงย่อย 1 – 5 โดยคะแนน 1 = มีการระบาดท าลายน้อยกว่า 10% ในขณะทีคะแนน 3 = มี
่
การระบาดท าลายประมาณ 50% และคะแนน 5 = มีการระบาดท าลายมากกว่า 70%
ั
ลักษณะกาบหุ ้มฝก (Husk Covering Scoring): เมื่อข ้าวโพดอายุได ้ประมาณ 90-95 วัน หรือ
ประมาณ 2 สัปดาห์ก่อนการเก็บเกี่ยว ทาการให ้คะแนน (scoring) ลักษณะกาบหุ ้มฝก 1 – 5 โดย
ั
ั
ั
คะแนน 1 = กาบหุ ้มฝกมิดและยาวพ้นปลายฝก ในขณะที่คะแนน 3 = กาบหุ ้มฝกเพียงมิดปลายฝก
ั
ั
ั
ั
และคะแนน 5 = ปลายฝกโผล่พ ้นกาบหุ ้มฝก
็
ั
ลักษณะรูปลักษณ์ของต ้นคร้งที่ 2 (Second Plant Aspects Scoring): เปนการสังเกตุลักษณะอันพึง
๋
ประสงค์ (Aspects) ของล าต ้นทั้งต ้นอันเกิดจากพันธุกรรมและการตอบสนองต่ออัตราปุย เมื่อ
ประมาณ 1-2 สัปดาห์ก่อนการเก็บเกี่ยว ได ้แก่ การเจริญเติบโต แข็งแรง ความสมาเสมอของต ้น ล า
่
ต ้นตั้งตรงหรือเอน ใบตั้งหรือเอน ใบกว ้างหรือแคบ และลักษณะเขียวสด (stay green) รวมทั้งการ
แสดงออกต่อการได ้รับธาตุอาหาร
การบันทึกลักษณะรูปทรงต ้น จะทาการให ้คะแนน (scoring) 1 – 5 โดยคะแนน 1 = ต ้นข ้าวโพดมี
็
การเจริญเติบโตดีที่สุด ไม่แสดงอาการขาดธาตุอาหาร หรือธาตุอาหารเปนพิษ ในขณะที่คะแนน 3
= ต ้นข ้าวโพดมีการเจริญเติบโตดีปานกลาง มีอาการขาดธาตุอาหารในระดับเล็กน้อยถึงปานกลาง
และคะแนน 5 = ต ้นข ้าวโพดมีการเจริญเติบโตน้อยมากอันเนื่องจากการขาดธาตุอาหารหรือเป็นพิษ
บันทึกจานวนต้น คะแนนลักษณะต้น วัดความสง จาแนกฝักเกบเกียว
็
่
ู
คาอธิบายการบันทึกข ้อมูล ตารางที่ 2
ลักษณะความสูงต ้นและความสูงต าแหนงฝก (Plant Height and Ear Height Measurements):
ั
่
เมื่อข ้าวโพดถึงระยะการเจริญเติบโตเต็มที่แล ้วคือประมาณ 85 วันหลังปลูก จนถึง ประมาณ 1
่
ั
สัปดาห์ก่อนการเก็บเกี่ยว จะทาการสุ่มวัดความสูงของล าต ้นและความสูงของต าแหนงฝกจาก 2
แถวกลาง มีหน่วยเปนเซ็นติเมตร จ านวน 5 ต ้นต่อแปลงย่อย (Plant 1 – Plant 5 และ Ear 1 – Ear
็
5) โดยความสูงของล าต ้นจะวัดจากโคนต ้น จากผิวหน้าดินถึงข ้อของใบธง โดยวัดความสูงของ
่
ั
ต าแหนงฝก จากโคนต ้นจากผิวหน้าดินถึงข ้อของฝกบนสุด
ั
ั
ข ้อมูลจานวนต ้นท้งหมดและจานวนต ้นหักล ้ม (Number of Plants and Number of Lodgings):
เมื่อข ้าวโพดอายุ 90-95 วันหลังปลูกหริอทันทีก่อนการเก็บเกี่ยว ทาการนบจ านวนต ้นทั้งหมดของ 2
ั
แถวกลาง ทีละแถว (Plant 2 และ Plant 3) และนบจานวนต ้นหักล ้มของ 2 แถวกลางแต่ละแถว
ั
(Lodg. 2 และ Lodg. 3) โดยก าหนดให ้ต ้นหักล ้ม (lodging) คือต ้นที่ทามุมเอียงมากกว่า 45 องศา
จากแนวดิ่ง ซึ่งต ้นหักล ้ม สามารถจาแนกเปน stalk lodging หรือ root lodging
็
คาอธิบายการบันทึกข ้อมูล ตารางที่ 3
จานวนฝกต่อแปลงย่อย (Number of Ears per Plots): เมื่อทาการเก็บเกี่ยวแต่ละแปลงย่อยแถวที่
ั
็
ั
2 และแถวที่ 3 เสรจสิ้นและทาการปอกเปลือกหุ ้มฝกออกแล ้ว ให ้ทาการนบจ านวนฝก โดยแยกเปน
ั
ั
็
ั
ฝักดี (Good Ears-G) หมายถึงฝกที่มีรูปทรงฝกที่สมบูรณ์และมีเมล็ดติดบนฝกมากกว่า 80
ั
ั
เปอร์เซ็นต์ ฝกลักษณะด ้อย (Poor Ears-P) หมายถึงฝกที่มีมีรูปทรงค่อนข ้างดีและมีเปอร์เซ็นต์การ
ั
ั
ติดเมล็ดน้อยกว่า 80 ในขณะที่ ฝกเสีย (Damaged Ears-D) จะหมายถึงฝกที่ถูกทาลายโดยโรค
ั
ั
แมลง และสัตว์ศัตรู มากกว่า 10 เปอร์เซ็นต์ของฝก
ั
จานวนฝกต่อต ้น (Number of Ears per Plants): เปนค่าการค านวณที่ได ้จากค่าสัดส่วนจานวนฝก
ั
ั
็
ั
ทั้งหมด (G+P+D) ต่อจานวนต ้นทั้งหมดที่นบได ้จากการเก็บเกี่ยวแถวที่ 2 และ 3 ในตารางที 2
่
65