Page 9 -
P. 9
ิ
์
ิ
ิ
โครงการพัฒนาหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ื
ิ
2
ั
เพื่อคงสภาพความสวยงามของพืชพนธุ์ และองค์ประกอบในพื้นที่นั้นๆ ให้ดีอยู่เสมอ โดยมีปัจจัยหลาย
ด้านที่เกี่ยวข้องกับงานดูแลบ ารุงรักษาภูมิทัศน์ให้คงความสวยงาม สามารถใช้งานได้ดี และมีความ
ปลอดภัยต่อผู้ใช้งานรวมไปถึงผู้ปฏิบัติงาน (ยศนนท์ ศรีวิจารย์, 2565)
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เป็นสถาบันการศึกษาชั้นน าของประเทศ ผลิตบุคลากรที่มี
ความส าคัญต่อการพฒนาประเทศ นอกจากนี้ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ยังเป็นสถาบันที่เป็นมิตร
ั
กับสิ่งแวดล้อม (Green University) ภายใต้โครงการมหาวิทยาลัยสีเขียวเชิงนิเวศ (KU Eco Green
Campus) อีกทั้งยังได้ด าเนินกิจกรรมในด้านสิ่งแวดล้อมอย่างต่อเนื่อง เริ่มจากการรักษาสิ่งแวดล้อมที่
ิ่
มีอยู่เดิม ให้มีความสมบูรณ์อยู่เสมอ รวมถึงการเพมพนที่สีเขียวด้วยการรณรงค์ปลูกต้นไม้ภายใน
ื้
มหาวิทยาลัยในวาระโอกาสส าคัญ เช่น โครงการปลูกต้นยางนา เฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษา
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 9 การจัดกิจกรรมโครงการเกี่ยวกับการเพมพนการกักเก็บ
ู
ิ่
คาร์บอนหลายโครงการ เป็นต้น โดยมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน เป็นสถานศึกษา
ชั้นน าของประเทศไทย ซึ่งจ าเป็นต้องประยุกต์การสร้างสภาพแวดล้อมทางการศึกษาให้เหมาะสมกับ
ผู้เรียนและบุคลากรในองค์กร อย่างไรก็ตาม การก่อสร้างอาคารได้ด าเนินการมาอย่างต่อเนื่องจวบจน
เป็นระยะเวลา 20 ปี รูปแบบหรือแนวคิดการออกแบบทางการพฒนาสภาพภูมิทัศน์ภายในเป็นการ
ั
ออกแบบตามสมัยนิยมในช่วงระยะเวลาการก่อสร้าง ปัจจุบัน บริบทแวดล้อมภายนอก รวมถึงการ
ขับเคลื่อนการด าเนินการของมหาวิทยาลัยภายใต้แผนยุทธศาสตร์ที่มีการเปลี่ยนแปลงตามระยะเวลา
ของแผน ทิศทาง การด าเนินงาน และเป้าหมายขององค์การได้เปลี่ยนแปลงให้เข้ากับสังคมที่มี
นวัตกรรมความคิดสร้างสรรค์เป็นส่วนร่วม ด้วยความมุ่งมั่นที่จะด าเนินกิจกรรมในด้านสิ่งแวดล้อม
ื่
อย่างต่อเนื่อง เพอเป็นประโยชน์ต่อประเทศ และเป็นตัวอย่างมหาวิทยาลัยเชิงนิเวศต่อไป
(มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2564)
การจัดการอาคารและสถานที่ในมหาวิทยาลัยถือเป็นองค์ประกอบที่ส าคัญยิ่งในการสนับสนุน
การเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพ ดังนั้นผู้บริหารสถาบันการศึกษาและผู้เรียนจ าเป็นต้องให้
ความส าคัญกับการจัดอาคารสถานศึกษาให้อยู่ในสภาพที่ดี มีความปลอดภัยและสะอาด นอกจากนี้
ื้
สภาพแวดล้อมภายนอก เช่น ทางเดินและที่นั่งรอระหว่างเรียน ก็มีบทบาทส าคัญในการเออประโยชน์
ต่อกิจกรรมการเรียนการสอน (วรษา ธัญญวรรณ์, 2562) การจัดภูมิทัศน์และสิ่งแวดล้อมใน
ื้
สถานศึกษาที่เหมาะสมส่งผลต่อบรรยากาศในการจัดการเรียนการสอน ซึ่งหากภูมิทัศน์เออต่อการ
เรียนการสอน จะช่วยสนับสนุนกระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียนและส่งเสริมการท างานของบุคลากรให้มี
ประสิทธิภาพ (วรากร ทรัพย์วิระปกรณ์, 2559) ความคาดหวังของนิสิต อาจารย์ และบุคลากรต่อการ
ี
ื่
ั
พฒนาสภาพภูมิทัศน์ภายในมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน นั้นไม่เพยงแต่เพอการลดปัญหาการ
เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิทัศน์ภายใน แต่ยังเป็นการจูงใจให้พนักงานท างานเพมขึ้น โดยผู้บริหารต้อง
ิ่
เข้าใจกระบวนการทางความคิดและการรับรู้ของบุคคล เมื่อพนักงานเห็นว่าการกระท าของพวกเขา
ึ
น าไปสู่ผลลัพธ์ที่พงพอใจ พวกเขาจะพยายามมากขึ้น การบูรณาการด้านภายในและสิ่งแวดล้อมที่มี
วัตถุประสงค์สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์จะเป็นไปตามความคาดหวังของบุคลากรภายในที่เห็น