Page 2 -
P. 2

ิ
                                   ิ
                                                   ิ
                                               ์
                                                                               ั
                                                                                       ุ
                                ื
                                                              ิ
           โครงการพัฒนาหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรต สมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร                  ี

               วราคม ยิ้มน้อย 2567 : ความคาดหวังของนิสิต อาจารย์ และบุคลากรต่อการพัฒนาสภาพภูมิทัศน์พื้นที่ภายใน
               มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน. 80 หน้า


                                                                                         ั
                              การวิจัยเรื่อง “ความคาดหวังของนิสิต อาจารย์ และบุคลากรต่อการพฒนาสภาพภูมิทัศน์
               พนที่ภายในมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน” มีวัตถุประสงค์ 1) เพอศึกษาความพงพอใจที่มีต่อสภาพภูมิ
                                                                           ื่
                 ื้
                                                                                       ึ
                                                                                               ึ
                     ื้
                                                                     ื่
               ทัศน์พนที่ภายในมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน และ 2) เพอศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อความพงพอใจที่มีต่อ
               สภาพภูมิทัศน์พนที่ภายในมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน โดยกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้
                             ื้
               แบ่งเป็น 3 กลุ่มตัวอย่างคือ นิสิต อาจารย์ และบุคลากร ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน จ านวน 400
               คน ทั้งนี้ผู้วิจัยได้ใช้รูปแบบการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) โดยใช้แบบสอบถาม
               (Questionnaire) เป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูล สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ
               (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) ค่าสถิติ t - Test และ
               การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-way ANOVA) ที่ระดับค่านัยส าคัญทางสถิติ 0.05


                              จากการศึกษาเกี่ยวกับความพงพอใจต่อสภาพภูมิทัศน์พนที่ภายในมหาวิทยาลัย
                                                                                   ื้
                                                          ึ
               เกษตรศาสตร์ บางเขน พบว่า ด้านพนที่สวนเส้นทางสัญจร โดยรวมอยู่ในระดับมากมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.82
                                               ื้
               ด้านพื้นที่สวนหย่อม และ ด้านพื้นที่สวนรอบอาคาร โดยรวมอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.95 และ 3.98
               โดยผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า 1) ปัจจัยส่วนบุคคลด้านระดับการศึกษาของนิสิต ส่งต่อความพงพอใจที่มี
                                                                                                 ึ
               ต่อสภาพภูมิทัศน์พนที่ภายในมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน แตกต่างกัน อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่
                                ื้
               ระดับ 0.05 2) ปัจจัยส่วนบุคคลทุกด้านของอาจารย์ ส่งต่อความพงพอใจที่มีต่อสภาพภูมิทัศน์พนที่ภายใน
                                                                                                 ื้
                                                                        ึ
               มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน  ไม่แตกต่างกัน และ 3) ปัจจัยส่วนบุคคลทุกด้านของบุคลากร ส่งต่อความ
               พึงพอใจที่มีต่อสภาพภูมิทัศน์พื้นที่ภายในมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน ไม่แตกต่างกัน
   1   2   3   4   5   6   7