Page 8 -
P. 8

้
                                       ิ
                           คลังความรดจทัลและฐานข้อมลจดหมายเหต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร           ์
                                                       ู
                                        ิ
                                     ู
                                                                     ุ

                         3. เพื่อสร้างจิตสำนึกของการมีส่วนร่วมในการพัฒนามหาวิทยาลัยหน่วยงานสังกัดสำนักงาน

               มหาวิทยาลัย

                         4. เพื่อส่งเสริมให้หน่วยงานสังกัดสำนักงานมหาวิทยาลัยพัฒนางานที่ปฏิบัติอยู่อย่างเป็นระบบ

               และสามารถนำไปพัฒนาไปสู่ความก้าวหน้าในตำแหน่งงาน และต่อยอดไปสู่โครงการรางวัลคุณภาพ
               มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์


                         5. เพื่อเป็นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างหน่วยงานสังกัดสำนักงานมหาวิทยาลัย


               3. ประเภทของรางวัลการพัฒนาปรับปรุงกระบวนงาน

                       แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ

                              1) ประเภทกระบวนการที่มีการต่อยอดโดยนำข้อเสนอแนะของคณะกรรมการฯ จากการ

               ส่งเข้าประกวดเมอปี 2566 ไปพัฒนาปรับปรุงและมีการนำไปใช้จริงจนเห็นผลลัพธ์ที่ดีขึ้นเชิงประจักษ์เป็น
                              ื่
               ระยะเวลาไม่น้อยกว่า 1 ปี โดยแบ่งออกเป็น 3 ประเภทย่อย ได้แก่

                                  1.1 ประเภทนวัตกรรมการบริการ หมายถึง การพัฒนาการให้บริการ ด้วยการนำ

               นวัตกรรมที่เกิดจากการนำแนวคิด องค์ความรู้ ทักษะ ประสบการณ์ และเทคโนโลยีดิจิทัล มาประยุกต์ใช้ในการ
               พัฒนาผลงาน/การให้บริการ กระบวนการ/ระบบบริการ รูปแบบใหม่ๆ ซึ่งเป็นผลงานนวัตกรรมใหม่ที่

               แสดงความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญจากผลงานหรือกระบวนการก่อนหน้าที่ ทำให้การบริการดีขึ้น

               กว่าเดิมอย่างก้าวกระโดด ส่งผลให้เกิดประโยชน์ต่อผู้รับบริการและมหาวิทยาลัยอย่างชัดเจน

                                  1.2 ประเภทบูรณาการข้อมูลในรูปแบบดิจิทัล หมายถึง การพัฒนาการให้บริการ ด้วย

               การเพิ่มประสิทธิภาพหรือการเปลี่ยนแปลงการให้บริการที่เป็นผลมาจาก ความสามารถในการทำงานร่วมกัน
               (Interoperability) ตั้งแต่ 3 หน่วยงานขึ้นไป (รวมหน่วยงานที่ส่งสมัคร) ในการเชื่อมโยง และแลกเปลี่ยน

               ข้อมูล ระหว่างหน่วยงานผ่านระบบดิจิทัล และทำให้เกิดการให้บริการในรูปแบบดิจิทัลที่ ผู้รับบริการไม่ต้อง
               ไปขอข้อมูลจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง หรือเป็นผลมาจากการบูรณาการวิธีการทำงานร่วมกัน ตั้งแต่ 2

               หน่วยงานขึ้นไป (รวมหน่วยงานที่ส่งสมัคร) เพื่อให้เกิดการให้บริการแทนกันได้ระหว่างหน่วยงานเพื่ออำนวย

                              ่
               ความสะดวกให้แกผู้รับบริการ
                                  1.3 ประเภทบริการตอบโจทย์ตรงใจ หมายถึง การพัฒนาการให้บริการ ด้วยการแก้ปัญหา

               ที่เป็นอุปสรรคในการดำเนินงาน เพื่อยกระดับการให้บริการและอำนวยความสะดวกแกผู้รับบริการ
                                                                                      ่
                              2) ประเภทกระบวนการใหม่ที่ยังไม่เคยส่งเข้าประกวดมาก่อนแต่มีผลลัพธ์สอดคล้องตาม

               เกณฑ์การให้คะแนนในปีนี้ โดยแบ่งออกเป็น 3 ประเภทย่อยเหมือนประเภทที่ 1










                                                            2
   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13