Page 10 -
P. 10
ิ
์
ิ
ิ
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ื
ิ
บทนา
่
่
เศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy) เปนเศรษฐกิจที่มุงเน้นการเพิมมูลคาให้กับ
่
็
่
็
ู
็
่
ู
ทรัพยากรชีวภาพที่มีอยมากมายในประเทศไทยให้เปนผลิตภัณฑ์มูลคาสง ที่เปน 1
ใน 3 องค์ประกอบของบีซีจีโมเดล (BCG Model) ซึงเปนกรอบนโยบายฟนฟู
็
่
้
ื
่
เศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทย เพือการพัฒนาทียั่งยืนแบบองค์รวมที ่
่
ประกอบด้วย เศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular Economy)
ุ
่
่
่
ทีมุงเน้นการน าวัสดเหลือใช้จากกระบวนการอืน ๆ กลับมาใช้ประโยชน์ โดยที ่
่
ู
เศรษฐกิจชีวภาพและเศรษฐกิจหมุนเวียนอยภายใต้เศรษฐกิจสีเขียว (Green
ู่
Economy) ทีเน้นการพัฒนาเศรษฐกิจควบคกับการพัฒนาสังคมและการรักษา
่
สิ่งแวดล้อม โดยการน าวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมมาใช้ บีซีจีโมเดล
มีความสอดคล้องกับเปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development
้
Goals, SDGs) และสอดรับกับหลักการของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
(Sufficiency Economy Philosophy, SEP) ซึงเปนหลักส าคัญในการพัฒนา
่
็
เศรษฐกิจ และสังคมของประเทศไทย
จุลินทรีย์เปนทรัพยากรชีวภาพทีส าคัญของประเทศไทย แตยังมีการวิจัยเพือ
็
่
่
่
ค้นหาและใช้ประโยชน์ไม่มากเมือเทียบกับจ านวนชนดทรัพยากรจุลินทรีย์ทีมีอย ่ ู
ิ
่
่
่
มากมายแตยังไม่ได้ถูกค้นพบในประเทศ ดังนั้นการวิจัยความหลากหลายทาง
็
ชีวภาพของทรัพยากรจุลินทรีย์และการใช้ประโยชน์เพื่อเศรษฐกิจชีวภาพจึงเปนสิ่งที ่
ุ
ควรจะได้รับการส่งเสริมอย่างจริงจัง จุลินทรีย์สามารถสนับสนนบีซีจีโมเดลทั้ง 3
่
้
่
ี
องค์ประกอบ ในหนังสือนได้รวบรวมจัดท าบัญชีรายชือของจุลินทรีย์ทีแยกได้จาก
่
่
ู
แหล่งทีอย (habitat) ในประเทศไทย และได้ท าการวิจัยและพัฒนาจนมีความ
่
ู
พร้อมของเทคโนโลยีที่ระดับตาง ๆ และสามารถที่จะถ่ายทอดไปสผ้สนใจเพื่อน าไป
่
ู
ิ
็
่
พัฒนาตอไปจนสามารถผลิตเปนผลิตภัณฑ์ โดยแบ่งตามชนดของจุลินทรีย์ และ
ิ
ประเภทของผลิตภัณฑ์ ชนดของจุลินทรีย์ทีรวบรวมอยในเอกสารนประกอบด้วย
่
ี
้
ู
่
บัญชีทรัพยากรจุลินทรีย์เพือเศรษฐกิจชีวภาพ | 1
่