Page 20 -
P. 20

ู
                                                               ้
                                                     คลังความรดจทัลและฐานข้อมลจดหมายเหต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร            ์
                                                                 ิ
                                                                                               ุ
                                                                                  ู
                                                                  ิ












                                                                                  รางวัลประเภท ระพีวิจัย





                                                        ื
                                                             ี
           ศาสตราจารยเกียรติคุณ ดร.อรอนงค นัยวิกุล เกิดเม่อวันท่ ๓๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๙๒ สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี วิทยาศาสตรบัณฑิต (วิทยาศาสตรการอาหาร) จากมหาวิทยาลัย
    เกษตรศาสตร ระดับปริญญาโท Master of Science (Food Science) จาก Tuskegee University และระดับปริญญาเอก Doctor of Philosophy (Cereal Technology) จาก North Dakota

    State University ประเทศสหรัฐอเมริกา

           เปนผูที่มีความรู ความสามารถทางดานเทคโนโลยีทางธัญชาติ (Cereal Technology) ดวยความรูเกี่ยวกับธัญชาติในประเทศสหรัฐอเมริกา คือ ขาวสาลีและขาวบารเลย จึงไดมี

    โอกาสในการนำความรูพื้นฐานนั้นมาใชกับขาว ซึ่งเปนธัญชาติหลักของประเทศไทย จึงไดมุงมั่นทำงานวิจัยดานการใชประโยชนจากขาวอยางตอเนื่อง และถายทอดความรูสูนิสิต คนทั่วไป

    ท่เก่ยวของ และผูที่ตองการความรูเร่องการแปรรูปขาวท่สามารถใหทั้งคุณคาและมูลคาเพิ่มไดอยางตอเน่องต้งแตเปนอาจารยในป พ.ศ. ๒๕๒๐ จนถึงปจจุบัน และยังยินดี สนับสนุนใหคำแนะนำ
                                                     ี
                                                                                                ื
                                                                                                   ั
                                   ื
       ี
     ี
    ปรึกษาทั้งภาคการศึกษาและภาคเอกชน พยายามคิดคนใหเกิดการใชประโยชนจากขาวในรูปแบบที่เปนอาหารและไมใชอาหารอยางกวางขวางมากขึ้น โดยมีความหวังวา การใชประโยชน
                                                                          ึ
    จากขาวท่หลากหลายจะสงผลถึงเกษตรกรในการปลูกขาว และขายขาวไดราคาดีข้นจากการรวมกลมเกษตรกร ท่มีจุดมงหมายในการแปรรูปเพ่มมูลคาและคุณคาไดมากกวาการขายเปนขาวเปลือก
                                                                                         ุ
                                                                                                                              ิ
            ี
                                                                                                         ุ
                                                                                                    ี
    และขาวสารเทานั้น ขยายกลุมเกษตรกรมากขึ้นเรื่อย ๆ เกิดประโยชนตอเกษตรกรไดอยางแทจริงและยั่งยืนตลอดไป
           ดวยความมุงมั่น ตั้งใจทำงานวิจัยและไดเผยแพรความรูทั้งในรูปแบบการถายทอดเทคโนโลยีสูภาครัฐและภาคเอกชนอยางตอเนื่อง มีผลงานตีพิมพในวารสารวิชาการทั้งภายในและ
    ตางประเทศมากกวา ๑๐๐ เรื่อง นอกจากนี้ยังเขียนบทความเผยแพรความรูในนิตยสาร สิ่งพิมพ เปนวิทยากรถายทอดความรู ฝกอบรมความรูเรื่องขาวและ ผลิตภัณฑขาวทำใหผูบริโภคได
    เลือกซื้อผลิตภัณฑจากขาวที่มีประโยชนทั้งในดานคุณคาและมูลคาตอสังคม  และประเทศชาติไดอยางหลากหลายมากขึ้น  โดยเฉพาะในปจจุบัน  กลุมผูบริโภคที่สนใจเรื่องสุขภาพไดรูจัก

    ผลิตภัณฑจากขาว ไมมีกลูเทนมากขึ้น เชน การถายทอดผลงานการผลิตเคกกลวยหอมจากขาวหอมมะลิอินทรียไมมีกลูเทนสูภาคเอกชน และการพัฒนาผลิตภัณฑขาวกลองเพาะงอกจาก

    ขาวพื้นเมืองจังหวัดตราด ใหกับชุมชนสหกรณการปลูกขาว ไดออกจำหนายอยางตอเนื่อง เปนตน

                                                                                                              ื
                                                                                                                                         ั
                                                                            ี
           จึงนับไดวา ศาสตราจารยเกียรติคุณ ดร.อรอนงค นัยวิกุล เปนนักวิจัยท่มีการศึกษาคนควาทดลองอยางตอเน่องตลอดเวลา ดวยความมุงม่น และพรอมเผยแพรผลงานวิจัยและ
    องคความรูอยางเปดกวาง ตามแนวทางการปฏิบัติของศาสตราจารยระพี สาคริก สืบไป
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25