Page 38 -
P. 38
ิ
ิ
์
ิ
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ิ
ื
ภาคผนวก 2
การวิเคราะหไนโตรเจนทั้งหมด โดยวิธี Kjeldahl
์
1. ขั้นตอนการวิเคราะห (ราชกิจจานุเบกษา, 2560)
์
1.1 ชั่งตัวอย่างปุ๋ย 0.3xxx ถึง 0.4xxx กรัม ใส่ในกระดาษกรอง
1.2 น ากระดาษกรองที่มีตัวอย่างปุ๋ยใส่ลงใน Kjeldahl flask ขนาด 800 มิลลิลิตร
ิ้
1.3 เติมสารละลายผสม H2SO4 และ Salicylic acid 40 มิลลิลิตร เขย่าให้เข้ากันตั้งทงไว้ประมาณ 30 นาที
แล้วเติม Sodium thiosulfate ประมาณ 5 กรัม
1.4 ย่อยตัวอย่าง จนกระทั่งได้สารละลายสีน้ าตาล ปิดไฟ และตั้งทิ้งไว้ให้เย็น
1.5 เติม Mixed catalyst ประมาณ 10 กรัม และท าการย่อยอกครั้งจนได้สารละลายสีเขียวใส แล้วตั้งทิ้งไว้
ี
ให้เย็น
1.6 เติมน้ ากลั่น 350 มิลลิลิตร แล้วเติมสารละลาย NaOH 100 มิลลิลิตร และ Zinc granular ประมาณ 5 กรัม
1.7 กลั่นตัวอย่าง โดยรองรับด้วย 4 % Boric 100 มิลลิลิตร กลั่นจนกระทั่งไนโตรเจนในสารละลายตัวอย่างปุ๋ย
ออกหมด หรือจนกระทั่งสารละลายใน Erlenmeyer flask ที่รองรับมีปริมาตรประมาณ 350 มิลลิลิตร
1.8 น าสารละลายที่ได้ไปไตเตรทกับสารละลายมาตรฐาน HCl 0.2 N จนได้สารละลายสีม่วงแดง แสดงว่า
ถึงจุดยุติ บันทึกปริมาตรสารละลายมาตรฐาน HCl 0.2 N ที่ไตเตรท
1.9 ท า Reagent blank โดยไม่ใส่ตัวอย่างปุ๋ย ท าการทดสอบเช่นเดียวกับตัวอย่าง
2. การค านวณ
N (HCl) = น้ าหนักของ Na2CO3 x 1000 x purity ของ Na2CO3
52.99 x ปริมาตร HCl x 100
เมื่อ 52.99 คือ กรัมสมมูลของ Na2CO3
% TN = (ml (HCl) – ml (Blank)) x N (HCl) x 14.0067 x 100
msample x 1,000
เมื่อ ml (HCl) คือ ปริมาณของ HCl 0.2 N ที่ใช้ในการไตเตรทตัวอย่าง (มิลลิลิตร)
ml (Blank) คือ ปริมาณของ HCl 0.2 N ที่ใช้ในการไตเตรท Blank (มิลลิลิตร)
msample คือ น้ าหนักตัวอย่าง (กรัม)
N (HCl) คือ ความเข้มข้นที่แน่นอนของสารละลายมาตรฐาน HCl (Normality)
14.0067 คือ น้ าหนักอะตอมของไนโตรเจน
1,000 คือ ค่าคงที่ส าหรับแปลงความเข้มข้น
100 คือ ค่าคงที่ส าหรับแปลงเปอร์เซ็นต์
_________________________________________________________________________________
32 | คู่มือการใช้โปรแกรมการประเมินค่าความไม่แน่นอนของการวิเคราะห์ธาตุอาหารหลักในปุ๋ยเคมี