Page 67 -
P. 67
ิ
ิ
์
ิ
ิ
ื
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
ในการสมัครเข้ารับการตรวจรับรองนั้น จะสมัครผ่านหน่วยงานที่ได้รับอนุญาตจาก FSC ที่เรียกว่า
หน่วยรับรอง (Certification Body) หรือเรียกกันโดยย่อว่า CB คือ หน่วยงานหรือบุคคลที่สามที่ให้บริการ
การตรวจประเมินและรับรองตามกระบวนการ และหลักการและเกณฑ์ของระบบการรับรองการจัดการป่าไม้
ของ FSC หลังจากนั้น CB จะแต่งตั้งหัวหน้าผู้ตรวจ (Lead auditor) และผู้เชี่ยวชาญท้องถิ่นในแต่ละด้านเพื่อ
ื้
มาดำเนินการ สำหรับการตรวจประเมินการจัดการป่าไม้ในพนที่นั้น นอกจากการพจารณาตามมาตรฐานที่
ิ
ประกอบด้วย หลักการ เกณฑ์ และตัวชี้บอกแล้ว ผู้ตรวจจะสุ่มตรวจสอบหน่วยตัวอย่างตามหลักวิชาการ
2) กระบวนการติดตามตรวจสอบ
เมื่อผู้ขอรับการตรวจประเมินหลัก (Main evaluation) ได้รับเอกสารที่แสดงว่าผ่านการ
รับรองการจัดการป่าไม้ของ FSC จะต้องผ่านกระบวนการตรวจติดตามในแต่ละปี (Surveillance) โดยมี
ระยะเวลารวม 5 ปี หลังจากนั้นสามารถต่อการรับรอง โดยการตรวจประเมินหลักซ้ำ (Re-evaluation) ได้
3) ระยะเวลาการแก้ไขกรณีมข้อเสนอให้ปรับปรุงแก้ไข Corrective Action Requests (CARs)
ี
ข้อเสนอให้ปรับปรุงแก้ไข Corrective Action Requests (CARs) มี 2 รูปแบบ ได้แก่
Major CARs ซึ่งจะต้องแก้ไขภายใน 3 เดือน กรณีการตรวจติดตามรายปี และจะต้องแก้ไขภายใน 6 เดือน
กรณีการตรวจประเมินหลัก หรือการตรวจประเมินหลักซ้ำทุก 5 ปี หากไม่ดำเนินการแก้ไขตามกำหนดเวลา
จะถูกยกเลิกใบรับรองหรือไม่อนุมัติให้ได้รับการรับรอง และ Minor CARs ซึ่งจะต้องแก้ไขภายใน 1 ปี
2.2 กฎหมายหลักที่เกี่ยวข้องกับไมเศรษฐกิจในประเทศไทย
้
2.2.1 กฎหมายเกี่ยวกับที่ดินและองค์การที่กำกับดูแล
ที่ดินในประเทศไทยสามารถจำแนกโดยใช้กฎหมายเป็นฐานได้ 2 ประเภท ได้แก่ ที่ดินของรัฐ และ
ที่ดินกรรมสิทธิและสิทธิครอบครองตามประมวลกฎหมายที่ดิน สรุปได้ดังนี้ (คณะกรรมการปรับปรุงแผนที่แนวเขต
ที่ดินของรัฐแบบบูรณาการ มาตราส่วน 1 : 4000 (One map), 2559)
1) ที่ดินของรัฐ
ั
ที่ดินของรัฐ หมายถึง ที่ดินที่รัฐเป็นเจ้าของ และอยู่ภายใต้การกำกบดูแลและบริหารจัดการ
โดยหน่วยงานรัฐ ซึ่งการบริหารจัดการจะมีกฎหมายที่ให้อำนาจหน่วยงานเป็นการเฉพาะในการดูแลรักษา ได้แก่
1.1) ที่ป่าไม้ มีหน่วยงานรับผิดชอบและมีอำนาจดูแล เช่น กรมป่าไม้ มีอำนาจดูแล
ื้
พนที่ป่า ตามมาตรา 4 (1) แห่งพระราชบัญญัติป่าไม้ พทธศักราช 2484 ป่าสงวนแห่งชาติ ตามพระราชบัญญัติ
ุ
54