Page 121 -
P. 121
ิ
ื
ิ
ิ
์
ิ
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
ตารางที่ 10 (ต่อ)
เจตนารมณ์มาตรฐานการรับรองการจัดการ
ประเด็น สถานภาพทางกฎหมายของที่ดิน
้
ที่ ป่าไมของ FSC เกี่ยวกับสถานภาพ ในประเทศไทย
ทางกฎหมายของที่ดิน
ซึ่งขัดแย้งกับมาตรฐานการรับรองการจัดการ
ป่าไม้ของ FSC ที่การดำเนินการใดๆ จะต้อง
สอดคล้องกับกฎหมาย
2 ที่ดินที่นำมาขอการตรวจรับรองต้องมีการจัดทำ 1) ที่ดินส่วนใหญ่ที่มีเอกสารทางราชการแสดง
หลักเขตหรือป้ายหรือเครื่องหมายอื่นแสดงแนว หรือยืนยันถึงสิทธิการครอบครองหรือใช้
เขตของหน่วยจัดการ และต้องแสดงในแผนที่ ประโยชน์ตามกฎหมายมีการแสดงแผนที่
อย่างชัดเจนด้วย แนวเขตในเอกสาร แต่ที่ดินบางแห่งมีแนว
เขตที่ไม่ชัดเจนหรือมีความซ้อนทับกัน
เนื่องจากสาเหตุดังประเด็นที่ 1 ข้อ 1)
ทำให้ขัดแย้งต่อมาตรฐานการรับรองการ
จัดการป่าไม้ของ FSC
2) ที่ดินที่มีการปลูกไม้เศรษฐกิจในระดับ
ี
หน่วยจัดการส่วนใหญ่ไม่มหลักเขตหรือ
ป้ายหรือเครื่องหมายอื่นแสดงแนวเขตของ
หน่วยจัดการ
3 ที่ดินที่จะนำมาขอการรับรองมาตรฐานต้องไม่ใช่ หน่วยงานหรือพนักงานเจ้าหน้าที่ที่มีอำนาจ
พื้นที่ที่เปลี่ยนสภาพจากพื้นที่ป่าธรรมชาติหลัง หน้าที่ตามกฎหมายเกี่ยวกับป่าไม้ของประเทศ
เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2537 เว้นแต่ ไทยส่วนใหญ่จะดำเนินการตรวจสอบแนวเขต
ี
(1) มีหลักฐานที่ชัดเจนและเพยงพอว่า ที่ดินหรือสภาพป่าไม้ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อ
องค์กรไม่มีส่วนเกี่ยวข้องโดยตรงหรือโดยอ้อม วันที่ 30 มิ.ย. 2541 โดยใช้แผนที่ภาพถ่ายทาง
ต่อการเปลี่ยนแปลงพื้นที่ป่า หรือ อากาศสี พ.ศ. 2544-2545 ของกระทรวงเกษตร
ื้
(2) การเปลี่ยนแปลงส่งผลกระทบต่อพื้นที่ และสหกรณ์ เป็นหลักในการกำหนดสภาพพนที่
หน่วยจัดการในระดับที่น้อยมาก และได้สร้าง ป่าไม้ ดังนั้น การพิสูจน์พื้นที่ที่เปลี่ยนสภาพจาก
ผลประโยชน์เพมเติมในระยะยาวให้กับหน่วย พื้นที่ป่าธรรมชาติหลังเดือนพฤศจิกายน พ.ศ.
ิ่
์
จัดการในเชิงอนุรักษที่ชัดเจน เป็นรูปธรรม และ 2537 จึงจำเป็นต้องหาหลักฐานหรือเทคนิค
ปลอดภัย และ อื่นที่มีความละเอียดและความถูกต้องตามหลัก
ื้
(3) พนที่ที่ขอการรับรองจะต้องมีที่ดินที่ วิชาการ ซึ่งค่อนข้างหายาก และต้องมี
108