Page 81 -
P. 81

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว


                  การศึกษาพฤติกรรมการใช้เมล็ดพันธุ์ข้าวและการประมาณการความต้องการเมล็ดพันธุ์ข้าวสําหรับศูนย์ข้าวชุมชน

                  4.2  การผลิตเมล็ดพันธุขาวฤดูแลงปเพาะปลูก 2561/62 และฤดูฝนปเพาะปลูก 2562 ของกลุมตัวอยางที่
                        เปนสมาชิกศูนยขาวชุมชน


                        4.2.1  พื้นที่ปลูกเมล็ดพันธุขาวฤดูฝนและฤดูแลง ปเพาะปลูก 2561/62 ของกลุมตัวอยาง

                                 สําหรับการปลูกเมล็ดพันธุขาวในฤดูฝน ปเพาะปลูก 2562 ของกลุมตัวอยาง พบวา พื้นที่

                  เพาะปลูกรวมเทากับ 3,438.25 ไร เฉลี่ยรวมไดเทากับ 24.38 ไร/ครัวเรือน โดยพื้นที่เพาะปลูกเฉลี่ยตอ
                  ครัวเรือนคอนขางแตกตาง คืออยูในชวง 14.20 – 36.69 ไร/ครัวเรือน    (ตารางที่ 4.5)

                                สําหรับพื้นที่ปลูกเมล็ดพันธุขาวในฤดูแลง ปเพาะปลูก 2561/62 ของกลุมตัวอยาง พบวา
                  พื้นที่ปลูกรวมเทากับ 2,965.5 ไร เฉลี่ยรวมไดเทากับ 21.03 ไร/ครัวเรือน นอยกวาพื้นที่เพาะปลูกในฤดูฝน

                  เล็กนอย ทั้งนี้เพราะวาไมมีการปลูกขาวหอมมะลิในฤดูแลง แตไปปลูกหอมพวงแทน และพื้นที่เพาะปลูกเฉลี่ย
                  ตอครัวเรือนก็ลดลงเชนกัน โดยอยูในชวง 2.0 – 35.15 ไร/ครัวเรือน    (ตารางที่ 4.6)


                         4.2.2  พันธุขาวที่ปลูกในฤดูฝนและฤดูแลง ปเพาะปลูก 2561/62 ของกลุมตัวอยาง

                                พันธุขาวที่ปลูกในฤดูฝนปเพาะปลูก 2562 มีหลายพันธุ มีทั้งกลุมขาวขาว และกลุมขาวหอม
                  โดยพันธุขาวที่กลุมตัวอยางนิยมปลูกและมีพื้นที่ปลูกมากที่สุดคือ กข 41 กข.29 พิษณุโลก 2 กข 49 กข 57

                  และ กข 61 คิดเปนรอยละ 22.5 , 17.3 , 12.3 , 115, 11.3 และ 10.1 ของพื้นที่เพาะปลูกรวม ตามลําดับ สวน

                  กลุมขาวหอม มีพื้นที่ปลูกรวมเทากับรอยละ 9.3 ของพื้นที่ปลูกในฤดูฝนทั้งหมด ตามลําดับ (ตารางที่ 4.5)
                                สําหรับ พันธุขาวที่ปลูกในฤดูแลงปเพาะปลูก 2561/2562 นั้น  ไมคอยแตกตางจากพันธุขาว

                  ในฤดูฝนเทาใดนัก โดยไมมีการปลูกขาวหอมมะลิในฤดูแลง  สวนกข 31 และ กข 81 ก็ไมมีการปลูกเชนกัน ซึ่ง
                  2 พันธุหลังนี้ ก็ไมเปนที่นิยมปลูกในฤดูฝนเชนกัน   พันธุขาวที่มีพื้นที่ปลูกมากในฤดูแลง ปเพาะปลูก 2561/62

                  คือ กข 41 กข 29 กข 49 และ พิษณุโลก 2 คิดเปนรอยละ 26.6 , 15.8 , 12.7 และ 12.5 ของพื้นที่ ปลูกในฤดู
                  แลงทั้งหมด ตามลําดับ สวนกลุมขาวหอมที่ปลูก จะเปนปทุมธานี 1 และหอมพวง  แตไมมาก ซึ่งมีพื้นที่ปลูก

                  รวมเทากับรอยละ 3.5 ของพื้นที่ปลูกในฤดูแลงทั้งหมดเทานั้น (ตารางที่ 4.6)
                                เมื่อเปรียบเทียบพันธุขาวที่เกษตรกรที่มีพื้นที่ทํานารอบศูนยขาวชุมชนใชในฤดูแลง และฤดูฝน

                  ปเพาะปลูก 2561/62 กับพันธุขาวที่เกษตรกรสมาชิกศูนยขาวชุมชนผลิตในปเพาะปลูกเดียวกัน พบวา พันธุที่
                  ผลิตสวนใหญเปนพันธุเดียวกับที่เกษตรกรใช นั่นคือ กข41 กข29 พิษณุโลก2 กข57 กข61 และ กข49 เพียงแต

                  ลําดับของความสําคัญอาจไมตรงกัน เชน เกษตรกรนิยมใชพันื กข49 เปนอันดับแรก ทั้งนาปรังและนาป แต

                  สมาชิกศูนยขาวชุมชนผลิต กข49 เปนอันดับ 3 เปนตน  ดังนั้น การศึกษาถึงพฤติกรรมการใชเมล็ดพันธุ
                  ยอนหลัง อยางนอย 2 ป จะทําใหเห็นขอมูลของการใชเมล็ดพันธุขาวแตละพันธุได







                                                            - 61 -
   76   77   78   79   80   81   82   83   84   85   86