Page 96 -
P. 96
ิ
ี
ิ
ั
็
ู
ั
่
็
้
ั
โครงการพฒนาหนงสืออิเลกทรอนกส์ด้านการเกษตร เฉลมพระเกยรติพระบาทสมเดจพระเจาอยหว
กัญชา : พืชทางเลือกใหม่ ผลกระทบทางเศรษฐกิจและความคุ้มค่าในการลงทุน | 95
ี
ตารางท่ 3.3 มูลค่าปัจจุบันสุทธิ (NPV) และอัตราส่วนผลตอบแทนต่อต้นทุน
(B/C ratio) ในกรณีต่าง ๆ
NPV, B/C NPV, B/C NPV, B/C NPV, B/C NPV, B/C
กรณีผลผลิต กรณีผลผลิต กรณีราคา กรณีผลผลิต
เพิ่ม ลดลง เพิ่มขึ้น ลดลง
การปลูกระบบ -101,898,514 -50,042,271 -100,086,514
รากลอย 0.36 0.68 0.37
การปลูกในร่ม -3,857,295 22,053,358 12,460,576
แบบวัสดุดิน 0.70 2.51 1.87
การปลูกโรงเรือน 45,478,663 108,082,430 32,745,694 35,312,693
แบบ EVAP พันธุ์ไทย 11.35 25.60 8.45 9.03
การปลูกโรงเรือน 46,310,125 108,082,430 33,577,156 36,144,155
แบบตาข่าย พันธุ์ไทย 14.00 31.58 10.43 17.60
การปลูกโรงเรือน 24,704,141 100,847,300 30,894,324
พันธุ์ต่างประเทศ 5.21 18.22 6.27
ที่มา: จากการค�านวณ
หมายเหตุ: ตัวเลขบน คือ มูลค่าปัจจุบันสุทธิ (NPV) (หน่วย: บาท)
ตัวเลขล่าง คือ อัตราส่วนผลตอบแทนต่อต้นทุน (B/C ratio)
จากข้อมูลด้านการปลูกกัญชาในรูปแบบต่าง ๆ จะเห็นได้ว่า การปลูกแบบ
ี
่
ู
ั
ู
ื
ในร่มจะมต้นทุนทสงกว่าการปลกแบบโรงเรือน นอกจากน้น เม่อพิจารณาถึง
ี
ต้นทุนการผลิตท่สาคัญพบว่า ต้นทุนในด้านค่าจ้างแรงงานเป็นต้นทุนท่มีสัดส่วน
ี
ี
�
มากกว่าปัจจัยอ่น ๆ ซ่งสะท้อนให้เห็นว่าการปลูกกัญชาจาเป็นต้องอาศัย
�
ื
ึ
องค์ความรู้ในการปลูกค่อนข้างมาก ทาให้ต้นทุนค่าจ้างบุคลากรมีสัดส่วน
�
สูงมาก ในขณะเดียวกัน เม่อพิจารณาความคุ้มค่าการลงทุนพบว่า การปลูกแบบ
ื
ในร่มทั้ง 2 แบบ ไม่มีความคุ้มค่าในการลงทุน ในขณะที่การปลูกแบบโรงเรือน
ท้ง 3 กรณี มีความคุ้มค่าในการลงทุน ซ่งจะเห็นได้ว่าความคุ้มค่าการลงทุน
ึ
ั
มีความแตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับรูปแบบที่เพาะปลูก อาทิ การปลูกในโรงเรือนแบบ
ตาข่ายพันธุ์ไทย มีความคุ้มค่าในการลงทุนมากท่สุด ท้งน้ การปลูกแบบในร่ม
ั
ี
ี
ื
แบบใช้วัสดุดินจะมีความคุ้มค่าการลงทุน เม่อสามารถเพ่มผลผลิตต่อต้นให้สูง
ิ
ขึ้นได้ ดังนั้น หากสามารถปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิตได้ การปลูกแบบในร่ม
จะเป็นทางเลือกในการปลูกกัญชาได้เช่นกัน