Page 54 -
P. 54
้
็
ู
่
ี
็
ั
ิ
ิ
ั
โครงการพฒนาหนงสืออิเลกทรอนกส์ด้านการเกษตร เฉลมพระเกยรติพระบาทสมเดจพระเจาอยหว
ั
กัญชา : พืชทางเลือกใหม่ ผลกระทบทางเศรษฐกิจและความคุ้มค่าในการลงทุน | 53
2.3 อุตสาหกรรมกัญชาในประเทศไทย
2.3.1 การด�าเนินนโยบายกัญชาทางการแพทย์ของประเทศไทย
่
ั
ิ
ิ
กญชาถือว่าเป็นยาเสพตดให้โทษประเภทท 5 ตามพระราชบัญญัติยาเสพตด
ี
ให้โทษ พ.ศ. 2522 โดยถูกก�าหนดไว้ว่าห้ามปลูก ห้ามเสพ ห้ามจ�าหน่าย และมีไว้
ครอบครอง แต่ในปัจจุบันภาครัฐได้เล็งเห็นถึงคุณประโยชน์ของการน�ากัญชามาใช้
เพ่อเป็นยารักษาโรค และได้พบว่าในหลายประเทศได้มการแก้ไขกฎหมายเพ่อ
ื
ี
ื
ี
�
ท่จะสามารถนากัญชามาใช้ประโยชน์ทางการแพทย์ได้ จึงได้มีการแก้ไขกฎหมาย
ของประเทศไทยให้สอดคล้องกับความต้องการน�าประโยชน์จากกัญชามาใช้ใน
�
ึ
ี
การรักษาโรคต่าง ๆ ทดแทนการพ่งพาการนาเข้ายาจากต่างประเทศท่มีราคาสูง
จึงได้มีการประกาศใช้พระราชบัญญัติยาเสพติด (ฉบับที 7) พ.ศ. 2522 ข้น
ึ
่
เพ่อแก้ไขพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522 ให้สามารถใช้ประโยชน์
ื
จากการวิจัยสารสกัดกัญชาและพืชกระท่อมที่มีประโยชน์และใช้ทางการแพทย์ได้
อย่างไรก็ตาม การเพาะปลกและการใช้ยังไม่สามารถทาได้อย่างเสร โดย
�
ี
ู
การเข้าถึงยาของผู้ป่วยทุกรายจะอยู่ภายใต้รูปแบบพิเศษของการเข้าถึงยา
�
ึ
(Special Access Scheme: SAS) ซ่งเป็นการอานวยให้เพื่อให้ผู้ป่วยสามารถ
เข้าถงผลิตภัณฑ์กัญชาท่ยังไม่ได้รับการรับรองด้านประสิทธิผลและความปลอดภัย
ึ
ี
จากสานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ภายใต้การดูแลของแพทย์อย่างใกล้ชิด
�
ิ
แต่การแก้ไขพระราชบัญญัติดังกล่าวน้ถือเป็นจุดเร่มต้นของประเทศไทยในการ
ี
สร้างองค์ความรู้ด้านกัญชาทางการแพทย์อย่างเป็นระบบ
้
นอกจากนี คณะกรรมการควบคุมยาเสพติดให้โทษได้มีมติและได้มีการ
ประกาศในพระราชกิจจานุเบกษาให้มีการปลดให้ส่วนต่าง ๆ ของพืชกัญชาและ
กัญชง เฉพาะที่ได้รับอนุญาตให้ปลูก ผลิต หรือสกัดในประเทศไทย ออกจากการ
เป็นยาเสพติดให้โทษประเภท 5 ได้แก่
1) เปลือก ล�าต้น ราก เส้นใย กิ่งก้าน และราก
2) ใบ ซึ่งไม่มียอดหรือช่อดอกติดมาด้วย
ี
่
ี
3) สารสกดทมสารแคนนาบไดออล (CBD) เป็นส่วนประกอบและมสาร
ั
ิ
ี
เตตร้าไฮโดรแคนนาบินอล (THC) ไม่เกินร้อยละ 0.2 โดยน�้าหนัก
4) เมล็ดกัญชง นามันจากเมล็ดกัญชง หรือสารสกัดจากเมล็ดกัญชง
�
้