Page 45 -
P. 45
ี
ิ
้
็
ั
ั
ิ
็
โครงการพฒนาหนงสืออิเลกทรอนกส์ด้านการเกษตร เฉลมพระเกยรติพระบาทสมเดจพระเจาอยหว
ั
ู
่
44 | กัญชา : พืชทางเลือกใหม่ ผลกระทบทางเศรษฐกิจและความคุ้มค่าในการลงทุน
่
ี
ี
่
ต่อมาในวันท 24 สิงหาคม 2559 ประเทศแคนาดาได้เปลยนกฎหมาย
่
ั
ั
ี
เกยวกบการใช้กญชาทางการแพทย์มาเป็น The Access to Cannabis for
Medical Purposes Regulations (ACMPR) และในปี 2561 ได้มีการออกกฎหมาย
ื
ื
ี
ั
Cannabis Act ท่อนุญาตให้บุคคลท่วไปสามารถซ้อขายกัญชาเพ่อสันทนาการ
(Recreation) โดยอนุญาตให้บุคคลท่อายุมากว่า 18 ปี สามารถซ้อขาย ครอบครอง
ื
ี
และแจกจ่ายกัญชาได้ไม่เกิน 30 กรัม (กัญชาแห้ง) ต่อคน และสามารถปลูกกัญชา
ี
ั
ได้ไม่เกิน 4 ต้นต่อครัวเรือน โดยห้ามบุคคลท่วไปจาหน่ายกัญชาท่ปลูกได้เอง
�
ี
้
นอกจากน ยังได้มีการกาหนดกฎและมาตรฐานสาหรับการปลูก ผลิต กระจายสินค้า
�
�
ขาย การนาเข้า ส่งออก ของกัญชาสาหรับคนท่ได้รับใบอนุญาตเพ่อควบคุมคุณภาพ
ื
�
ี
�
และป้องกันการรั่วไหล (Government of Canada, 2019A และ Government
of Canada, 2019B)
ี
การจัดการในด้านการผลิตกัญชาของแคนาดาน้น ท่ผ่านมามีแนวทางในการ
ั
ผลิตกัญชา 3 แนวทาง คือ ปลูกเอง รัฐบาลจัดการให้ และผู้ที่ได้รับใบอนุญาต
ในการปลูก ผลจากการด�าเนินนโยบายพบว่า จ�านวนคนที่ใช้กัญชาทางการแพทย์
นั้นเพิ่มสูงขึ้นมาก จาก 1.12 ล้านคน ในปี 2558 เป็น 3.69 ล้านคน ในปี 2560
(Deloitte, 2018) แสดงให้เห็นจ�านวนที่เพิ่มขึ้นอย่างมากของผู้ที่ต้องการใช้กัญชา
ทางการแพทย์ ทาให้เกิดปัญหาตามมาอย่างมาก ท้งในตัวผู้ครอบครองกัญชาเอง
�
ั
ี
ื
ท่เกิดปัญหาจากแมลง เช้อรา รวมไปถึงเจ้าของท่ดินและเพ่อนบ้าน นอกจากน ี ้
ี
ื
กัญชาชนิดแห้ง