Page 61 -
P. 61
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
58
2. Dependent Personality Disorder
ลักษณะเฉพาะ
1. ยอมใหผูอื่นรับผิดชอบ ตัดสินใจในเรื่องสําคัญของชีวิต
2. แนใจวาตนเองจะไมเสียบุคคลที่ตนพึ่งพาไป
3. กลัวการแยกจากและตองการคนมาดูแลมาก
4. พยายามทําตัวใหนาพอใจ ไมกลาขัดใจผูอื่นเพราะกลัวจะไมเปนที่ยอมรับและถูกทิ้ง
5. อยูคนเดียวจะรูสึกวางเปลา กังวล และไมสามารถทําอะไรได
6. เชื่อฟงและชื่นชมคนที่พึ่งพา ซึ่งทําใหผูที่เปนที่พึ่งพาอยากปกปอง แตในทางตรงขามอาจ
ทําใหเบื่อกับการถูกเกาะติด
สาเหตุ ยังไมแนชัด แตมีขอสันนิษฐาน
1. พอแมปกปองลูกเกินไป (Overprotection parent)
2. เด็กที่เกาะติดกับพอแมหรือผูเลี้ยงดูมากเกินไป
Clinical features of Dependent Personality Disorder
ตองมีอยางนอย 5 ลักษณะ A person having at least five of these characteristics might be
considered to have a Dependent personality disorder.
1. ไมสามารถตัดสินใจอะไรไดโดยไมไดรับคําแนะนําและ 1. Is unable to make everyday decisions without excessive
ความมั่นใจจากผูอื่น advice and reassurance from others.
2. ยอมใหผูอื่นตัดสินใจในสวนสําคัญ ๆ ของชีวิตตน 2. Allows or encourages others to make his or her own
important life decisions (e.g., whether to get married
where to live, whether to have Children).
3. ยากที่จะไมเห็นดวยกับผูอื่น เพราะกลัวจะถูกโกรธ 3. Has difficulty expressing disagreement with others
because of fear of their anger of loss of support.
4. ยากที่เริ่มทํากิจกรรมตาง ๆ เพียงลําพัง เพราะขาดความ 4. Has difficulty independently initiating activities because of
มั่นใจ lack of confidence in personal judgment of abilities.
5. เรียกรองการเอาใจใสดูแลมาก ตองการคนมาดูแล 5. Goes to excessive lengths to obtain nurturance and
support from others.
6. รูสึกไมสบายหรือสิ้นหวังเมื่ออยูคนเดียว 6. Feels uncomfortable of helpless when alone because of
exaggerated fears of inability to care for himself of
herself.
7. จะหาความสัมพันธใหมทดแทนทันทีเมื่อสัมพันธเกาสิ้นสุด 7. Indiscriminately seeks another relationship to provide
nurturing and support when a close relationships ends.
8. หมกมุนอยูกับการกลัวถูกทอดทิ้ง 8. Is frequently preoccupied with fears of being left to care
for himself or herself.
ที่มา : Sarason & Sarason,1999. p 267.