Page 35 -
P. 35
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
1
บทที่ 1 บทน า
1.1 ที่มาและความส าคัญ/หลักการและเหตุผล
ในอดีตภำคกำรเกษตรมีควำมส ำคัญต่อชุมชนในชนบทของประเทศไทย ต่อมำเศรษฐกิจของ
ประเทศไทยเจริญเติบโตขึ้นอย่ำงรวดเร็วโดยเฉพำะภำคอุตสำหกรรม จำกอัตรำส่วนของผลิตภัณฑ์มวลรวม
ภำคอุตสำหกรรมคิดเป็นร้อยละ 20 ในช่วงต้นทศวรรตที่ 2500 เพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 36 ในปี 2559 ในขณะที่
ช่วงเวลำเดียวกันอัตรำส่วนของผลิตภัณฑ์มวลรวมภำคเกษตรลดลงจำกร้อยละ 35 เป็นร้อยละ 8 (World
Bank, 2018) ผลิตภัณฑ์มวลรวมนอกภำคกำรเกษตรที่สูงขึ้นสะท้อนถึงควำมต้องกำรแรงงำนนอกภำค
กำรเกษตร แรงงำนจึงมีแนวโน้มในกำรเลือกย้ำยถิ่นออกจำกภำคเกษตรกรรมเพิ่มขึ้น (สุวพร, 2558) ทั้งยัง
ก่อให้เกิดควำมไม่เท่ำเทียมกันทำงรำยได้ระหว่ำงผู้ที่ท ำอำชีพด้ำนกำรเกษตรกับผู้ที่อยู่นอกภำคเกษตร ข้อมูล
จำกส ำนักงำนสถิติแห่งชำติ (2561) พบว่ำในปี 2560 ค่ำจ้ำงเฉลี่ยของแรงงำนภำคเกษตรเท่ำกับ 5,772.28 บำท
ต่อเดือน ซึ่งต ่ำกว่ำค่ำจ้ำงของแรงงำนนอกภำคเกษตรถึงร้อยละ 43.40 (10,198.51 บำทต่อเดือน) ควำม
แตกต่ำงทำงรำยได้นี้เป็ นอีกปัจจัยที่ท ำให้แรงงำนภำคเกษตรย้ำยถิ่นฐำนไปประกอบอำชีพใน
ภำคอุตสำหกรรมหรือภำคบริกำรในชุมชนเมืองมำกยิ่งขึ้น (Yang, 2004)
ยิ่งเวลำผ่ำนไปแรงงำนในชนบทยิ่งท ำกำรโยกย้ำยออกจำกภำคเกษตรมำกยิ่งขึ้น ดังที่จะเห็นได้จำก
ในปี 2549 มีอัตรำส่วนแรงงำนภำคเกษตรร้อยละ 50.63 ในปี 2560 อัตรำส่วนแรงงำนภำคเกษตรลดลงเป็น
ร้อยละ 32.07 (ส ำนักงำนสถิติแห่งชำติ, 2561) ทั้งนี้กำรศึกษำในต่ำงประเทศได้ให้มุมมองว่ำกำรโยกย้ำยถิ่น
ฐำนสำมำรถส่งผลกระทบต่อโครงสร้ำงทำงเศรษฐกิจของชนบทได้ทั้งในเชิงบวกและเชิงลบ ถ้ำมองในเชิง
บวก กำรโยกย้ำยถิ่นฐำนท ำให้ครัวเรือนในชนบทมีแหล่งรำยได้ที่หลำกหลำย รวมถึงรำยได้ที่เพิ่มขึ้นจำกเงิน
ที่สมำชิกที่โยกย้ำยไปท ำงำนต่ำงถิ่นส่งกลับมำให้ (Muller and Sikor, 2006) ซึ่งครัวเรือนสำมำรถน ำเงินนี้ไป
ลงทุนในกิจกรรมต่ำงๆ เช่น กำรชลประทำน หรือลงทุนในเครื่องจักรกลทำงกำรเกษตร เป็นต้น (De Haas,
2006) แต่ในขณะเดียวกันกำรโยกย้ำยถิ่นฐำนส่งผลกระทบต่อภำคเกษตรในเชิงลบ เช่น ท ำให้เกิดภำวะกำร
ขำดแคลนแรงงำนในภำคกำรเกษตร (Brown, 1987) กำรลดลงของแรงงำนในท้องถิ่นนี้เองท ำให้ครัวเรือนน ำ
กลยุทธ์กำรประหยัดแรงงำนมำใช้ ส่งผลให้เกิดกำรลดลงของควำมเข้มข้นในกำรใช้ปัจจัยกำรผลิตเพื่อ
กิจกรรมกำรเกษตร (Zimmerer, 1993) และท ำให้บำงครัวเรือนต้องปล่อยให้ที่ดินเกษตรให้รกร้ำงว่ำงเปล่ำ
(Rudel et al., 2005) ดังนั้นกำรศึกษำเชิงลึกถึงกำรเปลี่ยนแปลงของโครงสร้ำงเศรษฐกิจในชุมชนชนบท และ
ผลกระทบจำกกำรโยกย้ำยถิ่นฐำนต่อโครงสร้ำงภำคกำรเกษตรในชนบทของประเทศไทยจึงเป็นสิ่งส ำคัญ
และเป็นหนึ่งในวัตถุประสงค์หลักของงำนวิจัยนี้