Page 75 -
P. 75

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี


                                                                     DORMITORY

                                                                     นี่คือสถานแห่งหอในเกษตร ที่นิสิตยุคแรกอยู่


                                                                         เมื่อก่อนการเดินทางมาเรียน นิสิตทุกคนจะต้องไปกินข้าวที่นั่น
                                                                     เกษตรฯ ไม่ได้สะดวกเหมือนทุกวันนี้  ทุกมื้อ ข้าง ๆ หอ มีคลองไว้ส�าหรับ
                                                                     ด้วยความเป็นทุ่งบางเขนที่อยู่ห่าง เล่นน�้า (และซักผ้า) หรือหากต้องการ
                                                                     ไกล การคมนาคมค่อนข้างล�าบาก  ความบันเทิงก็มีโทรทัศน์ 1 เครื่อง
                                                                     นิสิตเกษตรฯ ในยุคแรกซึ่งเป็นนิสิต ที่มหาวิทยาลัยจัดหามาให้ดูร่วมกัน
                                                                     ชายทุกคนจึงต้องอยู่หอพัก โดย ทั้งนิสิต อาจารย์ และชาวบ้านละแวก
                                                                     เฉพาะนิสิตปี 1 ที่จะต้องใช้เวลา  นั้น แม้ปัจจุบันนิสิตจะได้รับความ
                                                                     ลงแปลงเกษตรในวิชาเกษตรศิลป์   สะดวกสบายจากการอยู่หอในเพิ่มขึ้น
                                                                         การอยู่หอในยุคนั้น ไม่ต่างกับ แต่นิสิตหอทุกรุ่นก็คงรู้สึกไม่ต่างกัน
                                                                     การอยู่โรงเรียนประจ�า คือเรามี ว่ามหาวิทยาลัยเป็นบ้านอีกหนึ่งหลัง
                                                                     หอพักเป็นอาคารไม้อยู่เรียงกัน 5  ซึ่งเป็นช่วงเวลาและบรรยากาศ
                                                                     หลัง ด้านหลังหอพักมีโรงอาหาร ที่ ที่หาที่ไหนไม่ได้อีกแล้ว




                                                             ECO LIBRARY
                                                             ห้องสมุดเพื่อสิ่งแวดล้อมแห่งแรกของไทย รีไซเคิล เช่น เศษกระดุมจากโรงงาน
                                                             ซ่อนตัวอยู่ในส�านักหอสมุด           น�ามาอัดเป็นเคาน์เตอร์ให้บริการ
                                                                                                 ยืม-คืนหนังสือ หนังสือเปียกน�้า
                                                                 เชื่อว่าบัณฑิตต้องเคยเฉียด ECO LIBRARY  น�ากลับมาแปรสภาพเป็นโต๊ะ เก้าอี้
                                                             พื้นที่ขนาด 250 ตารางเมตร ที่จัดแสงอย่าง และชั้นวางหนังสือ ชุดเครื่องแบบ
                                                             สวยงาม ในอาคารส�านักหอสมุดหลังเก่ากัน  พนักงานธนาคาร ที่ไม่ได้ใช้เปลี่ยน
                                                             สักครั้ง ที่นี่นอกจากจะมีตู้บัตรหนังสือเก่าโดดเด่น  เป็นผ้าหุ้มโซฟา หรือเมื่อมองขึ้นไป
                                                             อยู่ด้านหน้าและชั้นหนังสือแปลกตาเป็นมุม  บนเพดานก็จะเห็นโคมไฟจาก
                                                             ยอดฮิตส�าหรับถ่ายภาพนอกรอบรับปริญญา ยังแฝง  เศษผ้าไหม วัสดุทุกชิ้นรวมถึงระบบ
                                                             ไปด้วยแนวคิดด้านการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและ ประหยัดไฟเป็นส่วนหนึ่ง ที่จะท�าให้
                                                             พลังงาน ที่ศูนย์ปฏิบัติการออกแบบจากวัสดุ เราก้าวไปสู่ความเป็นมหาวิทยาลัย
                                                             เหลือใช้  (SCRAP  LAB)  คณะสถาปัตย  สีเขียว เข้าไปใช้บริการครั้งต่อไป
                                                             กรรมศาสตร์และส�านักหอสมุดร่วมกัน ก็อย่าลืมสังเกต และซึมซับแนวคิด
                                                             สร้างสรรค์ขึ้นด้วยการน�าสิ่งของเหลือใช้มา การใช้ทรัพยากรอย่างยั่งยืนด้วยนะ

                                                                                                               CLASS OF 2018  75



         19105_03-90_M6.indd   75                                                                                       16/10/61   13:52
   70   71   72   73   74   75   76   77   78   79   80