Page 83 -
P. 83

โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

                                       วารสารวนศาสตร 31 (1) : 78-86 (2555)                      81
                                                      ์



                     ทดสอบเครื่องมือ โดยทําการตรวจสอบ                  ผลและวิจารณ
              ความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา (content validity) ดวยการนํา
              แบบสอบถามไปใหผูเชี่ยวชาญตรวจสอบ จากนั้นนํา  ตอนที่ 1 ลักษณะพื้นฐานทางสังคมประชากร

              ไปทดสอบ (pretest) กับผูมาเยือนอุทยานแหงชาติเขา  และลักษณะการเดินทางของผูมาเยือน
              ใหญจํานวน 30 ตัวอยาง เพื่อนําผลที่ไดมาหาความ     พบวา ผูมาเยือนสวนใหญเปนเพศชายคิด
              นาเชื่อถือ (reliability) โดยวิธีวัดความสอดคลองภาย  เปนรอยละ 52.3 มีอายุเฉลี่ย 29 ป (SD = 10.098) การ

              ในแบบครอนบาค (Cronbach) แลวแกไขปรับปรุง    ศึกษาสูงสุดกําลังศึกษาอยูในระดับปริญญาตรีมากที่สุด
              จนกระทั่งไดแบบสอบถามฉบับที่สมบูรณ ซึ่งผลการ  คิดเปนรอยละ 54.5 รองลงมาสูงกวาปริญญาตรีรอยละ
              วิเคราะหความสอดคลองภายในของตัวแปรการรับรูได  24.3 ผูมาเยือนสวนใหญเปน นักเรียน/นิสิต/นักศึกษา
              คาสัมประสิทธิ์แอลฟาเทากับ 0.74  และการวิเคราะห  รอยละ 30.8 อาชีพรองลงมา คือ พนักงานบริษัทเอกชน
              คาความเชื่อมั่นของตัวแปรความรูความเขาใจเรื่องกฎ  รอยละ 25.5 โดยผูมาเยือนสวนใหญเปนผูมาเยือนตาง

              ระเบียบของอุทยานแหงชาติเขาใหญ คํานวณโดยสูตร   ถิ่นสูงถึงรอยละ 78.0 สวนที่เหลือเปนผูมาเยือนภายใน
              Kuder-Richardson (K.R.21) (พวงรัตน, 2540) เทากับ   ทองถิ่นโดยมีภูมิลําเนาอยูในพื้นที่อาณาเขตอุทยานแหง
                                                           ชาติเขาใหญรอยละ 21.8 สําหรับประสบการณในการ
              0.91                                         มาเยือน ผูมาเยือนสวนใหญเคยมาเยือนอุทยานแหงชาติ

                     เก็บขอมูลภาคสนาม ผูวิจัยทําการเก็บขอมูล  เขาใหญกอน คิดเปนรอยละ 60.2 จํานวนครั้งที่เคยมา
              ดวยแบบสอบถามจากกลุมตัวอยางเปนรายบุคคล (indi-  เยือนเฉลี่ย 2 ครั้ง (SD  = 6.481) และผูที่ไมเคยมาเยือน
              vidual) ขณะอยูในพื้นที่ (on-site survey) โดยใชเทคนิค  คิดเปนรอยละ 39.8 สวนใหญเดินทางมากับกลุมเพื่อน
              การสุมตัวอยางอยางงาย (simple random sampling)   คิดเปนรอยละ53.0 รองลงมาเดินทางมากับครอบครัว
              กระจายการเก็บขอมูลจากผูมาเยือนที่เดินทางมาเยือน  รอยละ 17.8 จํานวนสมาชิกในกลุมการเดินทางในครั้ง

              และประกอบกิจกรรมตามแหลงนันทนาการตางๆ ใน    นี้เฉลี่ย 23.0 คน (SD = 39.680) โดยผูมาเยือนสวนใหญ
              บริเวณเขตบริการอยางทั่วถึง เก็บขอมูลระหวางเดือน  มากับรถบริษัทนําเที่ยวมากที่สุดรอยละ 61.0 รองลงมา
              พฤศจิกายน พ.ศ. 2552 ถึงเดือนมกราคม พ.ศ. 2553   คือ รถจักรยานยนตเปนพาหนะในการเดินทางคิดเปน

              อยางตอเนื่อง ครอบคลุมทั้งวันธรรมดาและวันหยุดสุด  รอยละ 20.3 ผูมาเยือนสวนใหญพักคางคืนโดยการนํา
              สัปดาห รวมถึงการกระจายตามลักษณะการพักคาง คือ   เต็นทมาเองมากที่สุด รอยละ 44.5 รองลงมาพักคางแรม
              แบบไปเชา-เย็นกลับ และแบบพักคางคืน          บานพักอุทยานรอยละ 22.5 และเต็นทของทางอุทยาน
                     วิเคราะหขอมูล โดยใชสถิติเชิงพรรณนา   รอยละ 15.8 ตามลําดับ สวนผูที่ไมไดพักคางคืนใชเวลา
              (descriptive statistics) ประกอบดวย คาความถี่ คารอย  ประกอบกิจกรรมนันทนาการในพื้นที่เฉลี่ย 4.1 ชั่วโมง

              ละ คาเฉลี่ย คาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานในการอธิบาย  (SD = 1.381)
              ลักษณะของผูมาเยือนตามตัวแปรทุกตัวที่กําหนดและ  ตอนที่ 2 การรับรูสภาพแวดลอมดานเสียง
              ทําการทดสอบสมมติฐานโดยใชวิธีการเปรียบเทียบ         ผูวิจัยไดทําการศึกษาเปนสองสวน ไดแก การ

              คาเฉลี่ยเปนรายคู (paired -samples t – test ) และการ  รับรูสภาพแวดลอมดานเสียงที่เปนธรรมชาติและการ
              วิเคราะหสหสัมพันธ (correlation analysis)   รับรูสภาพแวดลอมดานเสียงที่มนุษยสรางขึ้น ผลการ

                                                           ศึกษาการรับรูสภาพแวดลอมดานเสียงที่เปนธรรมชาติ
   78   79   80   81   82   83   84   85   86   87   88