Page 70 -
P. 70

โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์


              68                         Thai J. For. 31 (1) : 64-77 (2012)



              ใชปลูกไมยูคาลิปตัส มีระยะหางระหวางคันนาตั้งแต       ผลและวิจารณ
              13-63 เมตร  และมีจํานวนคันนาโดยเฉลี่ย 13 และ 15
              คัน  ตอพื้นที่แปลงตัวอยางที่ปลูกแบบแถวเดียวและ     การศึกษาในครั้งนี้ไดทําการสุมตัวอยาง
              แบบสองแถวสลับฟนปลา ตามลําดับ                พื้นที่นาในจังหวัดพระนครศรีอยุธยาจํานวน 24 แปลง
                     3. เก็บรวบรวมขอมูลดานการลงทุนและรายได    ตัวอยาง  หลังจากนั้นทําการสํารวจภาคสนามเพื่อ
              โดยทําการสํารวจภาคสนามโดยใชแบบสอบถาม        เก็บขอมูลขนาดพื้นที่นา  จํานวนไมยูคาลิปตัสที่ปลูก
              เกษตรกร  3  ลักษณะ  คือ  เกษตรกรที่ปลูกขาวเชิงเดี่ยว,   และรูปแบบการปลูกโดยจําแนกไดเปนการปลูกแบบ
              ปลูกยูคาลิปตัสแบบแถวเดียวบนคันนา  และเกษตรกร  แถวเดียว  และสองแถวสลับฟนปลา  โดยมีระยะหาง
              ที่ปลูกยูคาลิปตัสแบบสองแถวสลับฟนปลาบนคันนา  ระหวางตน 1 และ 1.5 เมตร  เมื่อคํานวณจํานวนตน
              ปรับแตง                                     เฉลี่ยตอไรไดแลว  เทากับ  80, 120, 160  และ 240
                     ขอมูลทุติยภูมิ  ทําการเก็บรวบรวมขอมูลเกี่ยว  ตน  ตามลําดับ  สําหรับผลการศึกษาจะขอนําเสนอใน
              กับขอบเขตพื้นที่ดําเนินการ รายได  ตนทุน  และคาใช  ลักษณะของการเปรียบเทียบผลผลิต ตนทุนการผลิต
              จายตางๆ ที่เกิดขึ้นจากการดําเนินการปลูกไมยูคาลิปตัส  รายได และผลตอบแทนทางการเงิน  ใน 4 รูปแบบ
              บนคันนา การดูแลรักษา ตลอดจนราคาขายไมภายใน   ดังกลาว  ตามขนาดพื้นที่นาขนาดเล็ก (1-12ไร) กลาง
              ประเทศ                                       (13-24 ไร)  และใหญ  (มากกวา 24ไร)  ในแตละระดับ

                                                           ชั้นอายุ คือ 3 ป และ 4 ป ไดแก ทั้งนี้ จากผลการศึกษา
              การวิเคราะหขอมูล                           มีสาระสําคัญ ดังแสดงไวใน Table 1 ถึง Table 6
                     การวิเคราะหถึงผลตอบแทนดานการเงิน

              โดยคิดเฉลี่ยตอพื้นที่นา 1 ไร โดยใชหลักเกณฑการวัด  ผลผลิต
              ความเหมาะสมของการลงทุน 3 วิธี (วิไลลักษณ และ       การศึกษาการเจริญเติบโตของไมยูคาลิปตัสที่
              คณะ, 2528)  ไดแก                           ปลูกบนคันนา  แบบแถวเดียว  และการปลูกแบบสอง
                     1. การวิเคราะหอัตราสวนผลไดตอตนทุน   แถวสลับฟนปลา  ระยะหางระหวางตน 1 เมตร  และ
              หรือ  Benefit-Cost Ratio  คือการเปรียบเทียบอัตราสวน  1.5 เมตร  ที่ระดับอายุ 3 ป และ 4 ป  ซึ่งเปนชั้นอายุที่
              ระหวางมูลคาปจจุบันของผลไดกับตนทุนที่ใชดําเนิน  สามารถนําไมออกเปนสินคาได  การปลูกไมยูคาลิปตัส
              การ  ณ  อัตราดอกเบี้ยหนึ่ง  เงื่อนไขในการตัดสินใจ  บนคันนา  แบบแถวเดียวบนคันนา  ที่ระดับชั้นอายุ 3 ป
              จะลงทุน  คือ  B/C  > 1
                     2. มูลคาปจจุบันสุทธิ  (Net  Present     ระยะหางระหวางตน 1 เมตร (120  ตนตอไร)  และ 1.5
              Value) มักใชอักษรยอวา  NPV เปนการหามูลคา  เมตร (80 ตนตอไร)  พบวา  มีนํ้าหนักสดเฉลี่ย 28.40
              ปจจุบันของผลกําไรของโครงการ  ณ  อัตราดอกเบี้ย  และ 30.09  กิโลกรัมตอตน  หรือคิดเปน 3.41  และ
              ลดหนึ่ง  ในดานการปลูกสรางสวนปาก็เชนกัน สูตร    2.43  ตันตอไร  ตามลําดับ  สวนไมยูคาลิปตัสอายุ 4 ป
              NPV  ประกอบดวยรายการของรายได  และตนทุน  ทุก  ระยะหางระหวางตน 1 เมตร และ 1.5 เมตร  พบวา
              รายการ  เงื่อนไขในการตัดสินใจจะลงทุน  คือ  NPV  > 0   มีนํ้าหนักสดเฉลี่ย 33.76  และ 35.30 กิโลกรัมตอตน

                     3. อัตราผลตอบแทนของโครงการ หรือ       หรือคิดเปน 4.07 และ 2.82  ตันตอไร  ตามลําดับ
              Internal Rate of Return (IRR)  เปนผลตอบแทน (คิด  รายละเอียดแสดงใน Table 1
              เปนเปอรเซ็นต)  ที่ไดรับตลอดระยะของการลงทุน โดย
              ทําใหมูลคาปจจุบันของผลไดมีคาเทากับมูลคาปจจุบัน
              ของตนทุน
   65   66   67   68   69   70   71   72   73   74   75