Page 175 -
P. 175
โครงการรวบรวมและจัดทําเอกสารวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
164 วารสารมนุษยศาสตร์
เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือแบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น วิเคราะห์
ข้อมูลโดยการหาค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ
ค่าสถิติที (Pairs Samples Test และ Independent Samples Test)
ผลการวิจัยพบว่าภายหลังการเรียนนักเรียนกลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยของ
คะแนนความรู้และความตระหนักรู้เท่าทันสื่อโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพทาง
อินเทอร์เน็ตสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วนค่าเฉลี่ย
ของคะแนนการปฏิบัติในเรื่องการรู้เท่าทันสื่อโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพทาง
อินเทอร์เน็ตแตกต่างจากก่อนเรียน อย่างไม่มีนัยส าคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05 และ
ภายหลังการเรียนนักเรียนกลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยของคะแนนความรู้ ความตระหนัก
รู้ และการปฏิบัติในเรื่องการเรียนรู้เท่าทันสื่อโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพทาง
อินเทอร์เน็ตสูงกว่านักเรียนกลุ่มเปรียบเทียบ อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05
Abstract
The purpose of this quasi experimental research was to examine
the effectiveness of experiential health education instruction model to
promote media literacy regarding health products on internet for high school
students, Kasetsart University Laboratory School Center for Education
Research and Development. Seventy-six students of the Mathayomsuksa 4
were selected by random sampling method to be subjects in this study. The
subjects were randomly assigned to an experimental group and a
comparison group equally. The experimental group participated in
experiential health education instruction model to promote media literacy
regarding health products on internet for high school students 50 minutes for
4 weeks.While the comparison group participated in regular health education
classes for 4 weeks as well.Data was collected by questionnaires developed
by the researcher. Data analysis was made for frequency, percentage,