Page 68 -
P. 68

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






               ตําบลแมทาอยูบนพื้นที่ลาดชัน การลงทุนระบบน้ําตองอาศัยเงินทุนจํานวนมากซึ่งเกษตรกรไมสามารถที่จะ

               แบกรับตนทุนดังกลาวดวยตนเองได


                      5) ระบบตลาดและการขนสงผลผลิตไปยังผูบริโภค ปจจุบันกลุมเกษตรกรในชุมชนตําบลแมทาที่ทําวน
               เกษตรมีแนวทางในการจําหนายผลผลิตที่ไดจากพื้นที่ไรและสวนของตนเอง 3 ชองทางหลัก ไดแก 1) ตลาดใน

               ทองถิ่น ซึ่งสวนใหญจะขายใหกับเพื่อนบาน 2) มีพอคามารับซื้อในชุมชน และ 3) นําผลผลิตไปจําหนายยัง

               ตลาดในอําเภอเมืองเชียงใหม ซึ่งชองทางสุดทายนี้ถือเปนชองทางหลักในการจําหนายผลผลิตของเกษตรกร

               โดยเกษตรกรมีการรวมกลุมในการขนสงผลผลิตมายังตลาด การมีชองทางการจําหนายสินคาที่หลากหลายจะ

               เปนเงื่อนไขเชิงบวกตอการตัดสินใจของเกษตรกรที่จะหันมาทําวนเกษตร


               4.2 ความหลากชนิดของพืชในระบบวนเกษตรในพื้นที่จัดที่ดินทํากินใหกับชุมชน

                     ระบบวนเกษตรเปนการใชที่ดินรวมกันระหวางองคประกอบตางๆ ไดแก ไมยืนตน พืชเกษตร และอาจมี

               ปศุสัตวรวมอยูดวยในพื้นที่เดียวกัน ซึ่งในการศึกษาครั้งนี้ใหความสนใจองคประกอบดานพืชเปนอันดับแรก

               โดยเนื้อหาในบทนี้จะนําเสนอความหลากหลายทางชนิดพันธุของไมยืนตน ( woody perennial)  และพืช

               เกษตรที่พบในระบบวนเกษตรในพื้นที่โครงการจัดที่ดินทํากินใหกับชุมชน ตําบลแมทา อําเภอแมออน จังหวัด

               เชียงใหม

               4.2.1ความหลากชนิดของไมยืนตนในระบบวนเกษตร


                      ในระบบวนเกษตรไมยืนตนทําหนาที่สําคัญอยู 2 ประการ คือ หนาที่ดานการผลิต และหนาที่ดานการ

               บริการ สําหรับหนาที่ดานการผลิต ไดแก การผลิตอาหาร อาหารสัตว เชื้อเพลิง วัสดุกอสราง และวัตถุดิบตางๆ

               อาทิ เสนใย สมุนไพร และสารเคมี เปนตน สวนหนาที่ในดานบริการ ไดแก การปรับปรุงดิน ควบคุมการกัดชะ

               พังทลาย ควบคุมการระเหยของน้ําหนาดิน ควบคุมวัชพืช เปนแนวกําบังลม และเปนแนวรั้ว เปนตน สําหรับ

               ประเภทของไมยืนตนจําแนกตามหนาที่ดานการผลิต สามารถจําแนกไดเปน 4 ประเภท คือ 1) ไมปา ซึ่งใน
               ระบบวนเกษตรปลูกเพื่อใหเนื้อไมเปนสําคัญ อยางไรก็ดี ไมปาบางชนิดสามารถตรึงไนโตรเจนรวมกับจุลินทรีย

               บางชนิด จึงใหผลผลิตโดยเฉพาะอยางยิ่งใบนํามาเปนปุยพืช ไมปาบางชนิดอาจปลูกเพื่อประโยชน

               เอนกประสงค กลาวคือ เปนอาหารและใหเนื้อไม 2) ไมผล ในระบบวนเกษตรเพื่อเปนอาหารหรือสรางรายได

               อยางไรก็ดี ไมผลบางชนิดสามารถตัดฟนนํามาใชประโยชนได 3) ไมประเภทปาลม มักจะปลูกเพื่อใหผลผลิต

               ดานการคาเปนสําคัญ เชน ปาลมน้ํามัน มะพราว ระกํา ซึ่งพืชประเภทนี้เปนพืชอายุยาว และบางครั้งนํามา

               แปรรูปทําเฟอรนิเจอรได 4) ไมไผ สวนใหญปลูกไวใชสอยเอนกประสงค ตั้งแตหนอใชเปนอาหาร ลําใชสอยใน

               ครัวเรือน (กรมปาไม, 2544)





                                                           68
   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72   73