Page 42 -
P. 42

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว





















                   ๓.  การให้สมาชิกยืมควายไปเลี้ยง จะไม่มีการท�า  ควำมมั่นคงและฐำนะทำงเศรษฐกิจ

            หนังสือสัญญายืม แต่จะด�าเนินการในรูป “สัญญาสัจจะ”      จากการที่กลุ่มมีคณะกรรมการที่เข้มแข็งและ
            กล่าวคือ สมาชิกผู้ยืมควายไปเลี้ยงต้องให้ค�าสัญญาต่อกลุ่ม  มีการประชุมท�าความเข้าใจกับสมาชิกโดยตลอด ท�าให้
            ว่าจะดูแลเอาใจใส่ควาย เป็นอย่างดี โดยจะไม่จ�าหน่าย  กลุ่มมีควายหมุนเวียนของกลุ่ม จ�านวน ๖๖ ตัว จากการ

            ควายไปก่อนที่จะได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการ  คืนกระบือจากสมาชิก  คิดเป็นมูลค่า  ประมาณ
            บริหารกลุ่มและหากควายเกิดการเจ็บป่วยจะต้องรีบแจ้ง  ๕๒๘,๐๐๐ บาท เพื่อจะได้ขยายให้กับสมาชิกรายใหม่
            ให้คณะกรรมการทราบก่อนเพื่อด�าเนินการรักษาต่อไป   ต่อไป และจากการด�าเนินการในกิจกรรมต่างๆ ของกลุ่ม
                   ๔.  ถึงเดือนสิงหาคม ๒๕๕๐ กลุ่มสามารถมอบ  เมื่อปี ๒๕๕๐ กลุ่มมีเงินทุนส�าหรับบริหารจัดการ จ�านวน
            ลูกควายให้กับสมาชิกรายใหม่ จ�านวน ๗๓ ราย         ๖๐,๕๐๐ บาท

                   ๕.  มีแผนและแนวทางการพัฒนากลุ่ม เช่น
            ประชาสัมพันธ์คุณค่าของควายไทย ด�าเนินกิจกรรม     กิจกรรมสำธำรณประโยชน์และ
            การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ควายไทย จัดตั้งโรงเรียนสอน   กำรอนุรักษ์ทรัพยำกรธรรมชำติ

            การไถนา และส่งเสริมให้สมาชิกใช้ประโยชน์จากมูลควาย  และสิ่งแวดล้อม
            บทบำทและกำรมีส่วนร่วมของสมำชิก                         ๑.  ร่วมปลูกป่าบริเวณวัดในชุมชน จ�านวน ๘ ไร่

                   ๑.  สมาชิกมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น        ๒.  บริจาคควาย จ�านวน ๕ ตัว น�าเงินรายได้
            เช่น การประชุมกลุ่มทุก ๓ เดือน สมาชิกทุกคนสามารถ  ส่วนหนึ่งไปใช้ในกิจกรรมสาธารณประโยชน์ต่างๆ เช่น
            กู้เงินจากกลุ่มได้ รวมทั้งสามารถซื้อปัจจัยการผลิตใน  บ�ารุงศาสนา ทุนการศึกษา เป็นต้น

            ราคาถูก                                                ๓.  อนุรักษ์ให้สมาชิกใช้สมุนไพร มาใช้ในการ
                   ๒.  สมาชิกมีส่วนร่วมในการจัดท�าแผนและพัฒนา  บ�ารุงสุขภาพ ถ่ายพยาธิภายในและภายนอก ตลอดจน
            กลุ่ม โดยการร่วมตัดสินใจก�าหนดการรับแม่ควายไปให้  การรักษาการเจ็บป่วยของควายในกลุ่มในกรณีที่เป็น
            สมาชิกเลี้ยงโดยการประชุมตกลงตามมติของที่ประชุม   โรคไม่ร้ายแรง
                   ๓.  สมาชิกเข้ารับการอบรมเพิ่มเติมความรู้ในด้าน     ๔.  รณรงค์ให้สมาชิกใช้ปุ๋ยคอกและปุ๋ยอินทรีย์

            การพัฒนาอาชีพที่เกี่ยวข้องกับการอนุรักษ์ควายไทย  แทนปุ๋ยเคมี และให้ใช้น�้าหมักชีวภาพทดแทนการใช้
            และสิ่งแวดล้อม                                   สารไล่แมลงหรือยาฆ่าแมลง พร้อมสร้างจิตส�านึกให้กับ
                   ๔.  สมาชิกได้รับผลประโยชน์ร่วมกันจากการท�า  ลูกหลานเยาวชนที่เป็นอนาคตของชาติด้วย

            กิจกรรมต่างๆ ของกลุ่ม เช่น การรับเงินปันผลจากกองทุน



              ที่มา กองส่งเสริมและพัฒนาการปศุสัตว์ กรมปศุสัตว์

              http://extension.dld.go.th/th1/index.php?option=com_content&view=article&id=602:-
              2551&catid=48:2012-03-05-08-35-57&Itemid=233



       40    ๑๖ ปี สมาคมอนุรักษ์และพัฒนาควายไทย
             กับการมีส่วนร่วมอนุรักษ์พัฒนาควายไทยและเครือข่ายคนรักควาย
   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47