Page 10 -
P. 10
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
(8) บทคัดย่อ
มีเกษตรกรชาวสวนยางเพียงส่วนน้อยที่มีการปรับตัวอันเนื่องมาจากการเข้าร่วมประชาคมเศรษฐกิจ
อาเซียน
ปัจจัยก าหนดการรับรู้ผลกระทบต่อการประกอบอาชีพของเกษตรกรชาวสวนยางจากการเข้า
ร่วมประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ ประกอบด้วย ) ระดับการเข้าถึงข้อมูล
ข่าวสารเกี่ยวกับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 2) จ านวนสมาชิกที่อาศัยในครัวเรือนเดียวกัน 3) การ
ตรวจเยี่ยมหรือการรับค าแนะน าจากนักวิชาการหรือเจ้าหน้าที่ของหน่วยงานภาครัฐ ) ความเพียงพอ
ของแรงงานในครัวเรือน/แรงงานจ้างในการท าสวนยางพารา และ ) การเข้าร่วมอบรม/ทัศนศึกษา/
ประชุมสัมมนาที่เกี่ยวข้องกับการท าสวนยางพารา ปัจจัยก าหนดระดับการรับรู้ผลกระทบของเกษตรกร
ชาวสวนยางจากการเข้าร่วมประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ ประกอบด้วย
1) จ านวนปีที่ได้รับการศึกษาของเกษตรกรชาวสวนยาง 2) จ านวนแรงงานในครัวเรือน 3) ความ
เพียงพอของแรงงานในครัวเรือน/แรงงานจ้างในการท าสวนยางพารา 4) ความพึงพอใจในอาชีพการท า
สวนยางพารา ) ความสามารถในการเข้าถึงแหล่งเงินทุนเพื่อซื้อปัจจัยการผลิตหรือจัดการสวน
ยางพารา และ ) ระดับการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ส าหรับปัจจัย
ก าหนดระดับการปรับตัวของเกษตรกรชาวสวนยางจากการเข้าร่วมประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนอย่างมี
นัยส าคัญทางสถิติ ประกอบด้วย 1) ความเพียงพอของแรงงานในครัวเรือนส าหรับการท าสวนยางพารา
และ 2) การติดต่อกับเจ้าหน้าที่ของหน่วยงานภาครัฐเพื่อขอความช่วยเหลือในการจัดการสวน
ยางพารา
มาตรการที่เสนอต่อหน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้อง คือ 1) มาตรการสร้างความสมดุลของ
โซ่อุปทานยางพารา 2) มาตรการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน โดยเฉพาะเส้นทางคมนาคมขนส่งและ
ท่าเรือ 3) มาตรการสนับสนุนกลุ่มเกษตรกรชาวสวนยางเพื่อแสวงหาโอกาสจากการเป็นประชาคม
เศรษฐกิจอาเซียนและเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษจังหวัดสงขลา 4) มาตรการให้ความรู้เกี่ยวกับ
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนให้แก่เกษตรกรชาวสวนยาง 5) มาตรการส่งเสริมความร่วมมือกับประเทศ
ผู้ผลิตยางพาราที่ส าคัญเพื่อสร้างเสถียรภาพให้กับราคายางพารา และ 6) การส่งเสริมความ
หลากหลายของกิจกรรมการผลิตทางการเกษตรในระบบการผลิตยางพารา