Page 22 -
P. 22

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี






                   Degrees of Freedom



                   Degrees  of  Freedom,  df  เปนคาแสดงจํานวนขอมูลทางคณิตศาสตรที่มีอยูเพื่อใชประมาณ
                   คาพารามิเตอรในแบบจําลอง คํานวณไดจาก

                                                1                      1
                                 df      =            p )( p [(         [(p   -   )] 1  pm)  1)]   -   (m   m     -
                                                2                      2

                                                    m)   -   p (  2   m)     (p   -
                                         =
                                                       2
                   โดยที่ :
                                 df      =      Degrees of Freedom

                                 p       =      จํานวนตัวแปรที่สังเกตไดทั้งหมด

                                 m       =      จํานวนปจจัยรวมทั้งหมด


                                       2
                   นัยสําคัญของคา   (Chi-square)


                        2
                   คา    จะมีคาสูงขึ้นเมื่อผลตางระหวาง Observed และ  Estimated  Variance  –  Covariance
                                       
                   Matrices หรือ S และ  ตามลําดับ คือ Discrepancy Function, F มีคามากขึ้น และการทดสอบ

                        2
                   คา   ก็จะเปนการพิจารณาความเปนไปไดทางสถิติที่เมทริกซทั้ง 2 จะเทากัน คาความนาจะเปน
                   ดังกลาว คือ คา p-value นั่นเอง



                   แตการแปลผลจะตางจากการวิเคราะหขอมูลหลายตัวแปรทั่วๆ  ไป  กลาวคือ  ในที่นี้เมื่อพบวา  คา
                                     2
                   p-value  ของคา   มีคานอย  เชน  นอยกวา  0.05    ซึ่งปกติในการวิเคราะหอื่นจะแสดงวา
                   ความสัมพันธมีนัยสําคัญทางสถิติ แตในที่นี้จะหมายถึง Covariance Matrices ทั้ง 2 แตกตางกัน

                                                                                                     2
                   ทางสถิติ  กลาวไดวา  แบบจําลองไมเหมาะสม  ฉะนั้น  ในการวิเคราะห  SEM  จึงตองการคา  
                   นอยๆ  (คา  p-value  สูง)  ที่แสดงวา  เมทริกซทั้ง  2  ไมแตกตางกัน  หรือแตกตางกันอยางไมมี

                   นัยสําคัญทางสถิติ สนับสนุนทฤษฎีที่เสนอวิเคราะห หรือไมปฏิเสธ Null Hypothesis


                        2
                   คา   สามารถนําไปใชทดสอบความแตกตางระหวางแบบจําลอง  2  แบบจําลอง  ไดเชนกัน  คา
                     2
                     ที่สูงแสดงวา แบบจําลองมีความแตกตางกัน


                                 2
                   นอกจากดัชนี  ที่นําไปใชทดสอบความเหมาะสมของแบบจําลอง ยังมีดัชนีทดสอบอื่นๆ อีก



                                                          - 19 -
   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27