Page 8 -
P. 8

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว





                           3. วัสดุปลูก

                           เปนวัสดุที่หางายในทองถิ่น มีความโปรง น้ําหนักเบา ดูดซับความชื้นไดดีพอสมควร แต
            ระบายน้ําและถายเทอากาศไดดี มีสภาพความเปนกรดเล็กนอยถึงเปนกลาง pH 6.0 – 7.0 เพราะที่ระดับ pH

            ดังกลาว แรธาตุอาหารพืชในดินสวนใหญจะอยูในรูปที่พืชสามารถนํามาใชประโยชนได  มีปริมาณเกลือต่ํา


                           4. การผสมดินปลูก

                           ควรผสมปูนมารล ปูนดิบ หรือปูนขาวเพื่อปรับ pH ของดินกรดใหเพิ่มสูระดับที่เหมาะสม
            ขณะเดียวกันชวยเพิ่มธาตุแคลเซียม และแมกนีเซียมอีกดวย และผสมปุยลงในวัสดุปลูกดวยเพื่อชวยบํารุง

            พืชในวัยออน






                          การดูแลรักษา


                           คุณภาพน้ํา

                           น้ําที่ใชรดไมดอกกระถางควรเปนน้ําที่สะอาดพอสมควร มี  pH  เปนกลาง หรือคอนไปทาง
            กรดเล็กนอย มีปริมาณเกลือแรต่ํา เมื่อปลูกไมดอกไปไดระยะหนึ่งอาจพบวาตนพืชแสดงอาการผิดปกติ

            เชน ขอบใบไหม ปญหานี้อาจเกิดจากความเค็มของวัสดุปลูกที่เพิ่มขึ้นจนเกินระดับที่พืชจะทนได เนื่องจาก
            น้ําที่ใชรดเปนประจํามีเกลืออยูมากเกินไป

                           วิธีการใหน้ํา


                           โดยทั่วไปแลวจะรดน้ําเพียงวันละ 1 – 2  ครั้งและควรรดในเวลาเชาหรือสาย เพื่อใหใบพืชแหง
            กอนถึงเวลาค่ํา เนื่องจากใบพืชที่เปยกชื้นจนถึงเวลากลางคืน อาจกอใหเกิดเชื้อราทําใหพืชออนแอเปนโรค

            ไดงาย

                           การใหปุย

                           หลังจากยายปลูก ใสปุยละลายเร็วสูตรเสมอ เรโช 1:1:1 เชน สูตร 15 – 15 – 15 หรือ

            16 – 16 – 16  ในวันที่ 7 หลังการยายปลูกแลว  ตอจากนั้นใสทุก ๆ 10 วัน  อัตราที่ใชคือ  กระถางละ 2 – 5 กรัม

            ตามขนาดของกระถาง จนกวาจะเริ่มออกดอกหรืออาจใหปุยละลายชาสูตรเสมอ โดยใชปุยที่อยูนาน 3 เดือน
            ไดตั้งแตระยะตนกลาถึงมีใบจริง 3 คู แลวจึงใหปุยละลายเร็ว


                           เมื่อเริ่มออกดอก ควรปรับสูตรปุยใหมีตัวกลางสูง เรโช 1:2:1 เชน สูตร 12 – 24 – 12

            อัตราการใช 5 – 8  กรัม/ครั้ง/ กระถาง  ทุก ๆ 10 วัน  หากพืช  ยังมีการเจริญเติบโตทางลําตนมาก

            ก็อาจหันมาใชเรโช 1:3:3 เชน สูตรปุย 8 – 24 – 24 เพื่อเปนการลดสัดสวนของธาตุไนโตรเจนลง แลวเพิ่ม

            สัดสวนของธาตุฟอสฟอรัส และโพแทสเซียมใหสูงขึ้น ซึ่งจะทําใหสัดสวนของธาตุอาหารหลักในพืช
            ปรับสมดุลใหมใหเหมาะกับการเจริญของดอกดวย


         กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร    สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี   กรมสงเสริมการเกษตร            7
   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12