Page 2 -
P. 2

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
            58                                                                                                                                               3

                                     บรรณานุกรม                                                                        คํานําพิมพครั้งที่ 4


            กรมการขาว.  2556.  ขาว: เทคโนโลยีการปลูกและการจัดการหลังการเก็บเกี่ยว.                    หนังสือ “การปลูกขาว” เปนคูมือการทํานาที่เหมาะสําหรับชาวนา
                   พิมพครั้งที่ 2.  สํานักสงเสริมการผลิตขาว, กรมการขาว.  กรุงเทพฯ.           นิสิต/นักศึกษา นักวิจัย/นักวิชาการดานขาว ผูที่สนใจในการปลูกขาว และ
            กรมการขาว. 2555. GAP-05เอกสารสนับสนุนระบบการจัดการคุณภาพ GAP:                       ผูที่สนใจทั่วไป โดยรวบรวมขอมูลพื้นฐานเบื้องตนสําหรับการปลูกขาวที่
                   ขาว. กรมการขาว. กรุงเทพฯ
            กูเกียรติ สรอยทอง และ พรศิริ  เสนากัสป.  จัดการระบบนิเวศในนาขาวเพื่อการลด        ควรรูตั้งแตเริ่มวางแผนปลูกจนถึงเก็บเกี่ยว การเรียกระยะการเจริญเติบโต
                   ตนทุน.  เอกสารเผยแพร สสข2554-06-053.  กรมการขาว.  กรุงเทพฯ.                ของขาว นอกจากนี้ยังมีตัวอยางแนวการทําบัญชีฟารมสําหรับจดบันทึก
            ธานี ศรีวงศชัย.  2556.  เกษตรกรรมลองทําดู: ขาว.  พิมพครั้งที่ 1. สํานักพิมพ      รายรับรายจายในการทํานาแตละครั้ง ซึ่งจะมีประโยชนตอไปในการวาง
                   นานมีบุคสพับลิเคชั่นส, กรุงเทพฯ.                                           แผนการจัดการเงินสําหรับการเพาะปลูกในครั้งถัดไป  ครั้งนี้ผูเขียนได
            ประภาส วีระแพทย.  2553.  สารานุกรมไทยสําหรับเยาวชนฯ เลมที่ 16 : ขาว.              เพิ่มเติมเนื้อหาเกี่ยวกับปุยสั่งตัด และการจัดการน้ําแบบเปยกสลับแหง
                   พิมพครั้งที่ 1.  สํานักพิมพดานสุทธาการพิมพ จํากัด, กรุงเทพฯ.                     พรอมกันนี้ผูเขียนไดใชเนื้อหาจากหนังสือเลมนี้มาพัฒนาเปน
            สํานักวิจัยและพัฒนาขาว. 2555. องคความรู: เทคโนโลยีการปลูกขาว.                    แอพพลิเคชั่นสําหรับคอมพิวเตอร และ Smart  Phone  ในชื่อ
                   พิมพครั้งที่ 2.  สํานักวิจัยและพัฒนาขาว, กรมวิชาการเกษตร.  กรุงเทพฯ.
            อรอนงค นัยวิกุล. 2550. ขาว: วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี. พิมพครั้งที่ 2.              “Rice สาระ” เพื่อเพิ่มชองทางในการเขาถึงและใชประโยชนจากขอมูลใน
                   สํานักพิมพมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. กรุงเทพฯ.                                  หนังสือ ผูเขียนตองขอขอบคุณผูสนับสนุนในการจัดทําแอพพลิเคชั่นมา ณ
                                                                                                 ที่นี้ดวย
            แหลงเรียนรูเพิ่มเติม                                                                      ผูเขียนหวังเปนอยางยิ่งวาเนื้อหาใหหนังสือเลมนี้จะเปนประโยชน
            มูลนิธิขาวไทย ในพระบรมราชูปถัมภ. เขาถึงไดจาก www.thairice.org                    ตอผูอานบางไมมากก็นอย หากนําคําแนะนําตางๆ ในหนังสือเลมนี้ไปลอง
            สารานุกรมไทยสําหรับเยาวชนฯ เลมที่ 3.  ขาว.  เขาถึงไดจาก                          ปฏิบัติในการปลูกขาวจะชวยทําใหการปลูกขาวประสบผลสําเร็จตามความ
                   www.kanchanapisek.or.th/kp6/New/sub/book/book.php?book=3                      มุงหวังได และหากมีขอผิดพลาด ขอเสนอแนะ หรือเทคนิคการจัดการ
                   &chap=1&page=t3-1-infodetail06.html.
            ศูนยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีขาว ภาควิชาพืชไรนา คณะเกษตร. เขาถึงไดจาก             แปลงแบบอื่นที่เหมาะสมอีกเพื่อจะชวยใหการปรับปรุงเนื้อหาใหถูกตอง
                   www.corsat.agr.ku.ac.th                                                       และเหมาะสมยิ่งขึ้น ผูเขียนยินดีรับฟงเปนอยางยิ่ง
            องคความรูเรื่องขาว. เขาถึงไดจาก www.brrd.in.th/rkb
            Rice Knowledge Bank. เขาถึงไดที่ www.knowledgebank.irri.org                                                                               ผูเขียน
                                                                                                                                                     ก.ค. 2559
   1   2   3   4   5   6   7