Page 76 -
P. 76

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว



                         คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์           Faculty of Agriculture, Kasetsart University





                             เครื่องคว้านตากะลาเมล็ดพันธุ์ปาล์ม




                                                                        รองศาสตราจารย์ ดร.วันชัย จันทร์ประเสริฐ *,
                                                        ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศุภกิตต์ สายสุนทร **, นางสาวเต็งกิ มะมิ้น ***,
                                                                    นายสุรกิตติ ศรีกุล ****, นางสาวอรรัตน์ วงศ์ศรี *****




























              รายละเอียดผลงาน
                  เครื่องคว้านตากะลาเมล็ดพันธุ์ปาล์ม เป็นเครื่องมือส�าหรับคว้านกะลาที่บริเวณตาของเมล็ดพันธุ์ ปาล์ม
            น�้ามันลูกผสมเทเนร่า (tenera hybrid seed) ซึ่งเป็นเมล็ดพันธุ์ปาล์มน�้ามันที่ใช้ปลูกเป็นการค้า เครื่องคว้าน

            ตากะลานี้จะท�าหน้าที่เปิดพื้นที่กะลาบริเวณตาและก�าจัดโอเปอร์คิวลัม (operculum) เป็นการ ท�าลาย
            การพักตัวของเมล็ดพันธุ์ปาล์มน�้ามัน ท�าให้เมล็ดพันธุ์ปาล์มน�้ามันสามารถเริ่มงอกได้ภายในระยะเวลา
            1 สัปดาห์ ในขณะที่วิธีปกติจะต้องอบเมล็ดที่ 40 องศาเซลเซียสเป็นเวลา 60-80 วัน และใช้เวลาเพาะเมล็ดอีก

            15-45 วัน เครื่องคว้านตากะลาเพื่อก�าจัดโอเปอร์คิวลัม จึงช่วยประหยัดเวลาในการเพาะเมล็ดได้อย่างน้อย
            60 วัน โดยไม่จ�าเป็นต้องสร้างห้องอบเมล็ดพันธุ์ รวมทั้งประหยัดค่าใช้จ่ายกระแสไฟฟ้า


               การใช้ประโยชน์ผลงานและกลุ่มผู้ได้รับประโยชน์/ใช้ประโยชน์
                  การแก้การพักตัวของเมล็ดพันธุ์ปาล์มสามารถท�าได้โดยวิธีการตัดโอเปอร์คิวลัม (deoperculation)

            จัดเป็นวิธีสะการิฟิเคชั่น (scarification) ท�าให้เมล็ดสามารถงอกได้โดยไม่ต้องผ่านการอบที่ 40 องศาเซลเซียส
            60-80 วัน การใช้เครื่องคว้านตากะลาจะท�าให้สามารถแก้การพักตัวของเมล็ดปาล์มน�้ามันลูกผสมเทเนร่า
            (tenera hybrid seed) ได้ไม่น้อยกว่า 250 เมล็ดต่อชั่วโมง ช่วยย่นระยะเวลาการงอก และสามารถพัฒนา

            ต่อยอดเพื่อให้ใช้ในอุตสาหกรรมการผลิตเมล็ดงอกและต้นกล้าปาล์มน�้ามันต่อไปได้


            * ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900
            ** ภาควิชาเกษตรกลวิธาน คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900
            *** นักวิจัยสังกัดรัฐบาลประเทศเมียนมาร์
            **** ผู้เชี่ยวชาญด้านการจัดการการผลิตพืชที่เหมาะสมกับพื้นที่ภาคใต้ตอนบน กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
                  เลขที่ 50 ถนนพหลโยธิน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพ 10900
            ***** นักวิจัย ศูนย์วิจัยปาล์มน�้ามันสุราษฎร์ธานี กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

            หน้า 74 ครบรอบ 72 ปี คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
   71   72   73   74   75   76   77   78   79   80   81