Page 66 -
P. 66
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
พ.ศ. 2482 พ.ศ. 2486
เริ่มมีการนำากีฬารักบี้มาฝึกซ้อมและแข่งขัน ยกฐานะวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ที่บางเขนขึ้นเป็น “มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์”
ที่สำาเร็จมัธยมศึกษาปีที่ 8 มีฐานะเป็น “กองวิทยาลัยเกษตรศาสตร์”
สังกัดกรมเกษตร กระทรวงเกษตราธิการ นอกจากนั้นกระทรวง
เกษตราธิการยังได้จัดตั้งสถานีวิจัยเกษตรที่ทุ่งบางเขน ห่างจาก
กรุงเทพฯ ราว 14 กิโลเมตร บนที่ดินประมาณ 1,000 ไร่ เพื่อเป็น
สถานีทดลองเกษตรแห่งที่สองในเขตพระนคร ต่อจากสถานี
ทดลองไม้ผลที่บางขุนนนท์ จังหวัดธนบุรี ดังนั้นในปี พ.ศ. 2482
วิทยาลัยเกษตรศาสตร์ที่แม่โจ้จึงย้ายมาอยู่คู่กับสถานีวิจัยเกษตร
ที่ทุ่งบางเขนเสมือนการยึดหัวหาดเบื้องต้น และปรับฐานะวิทยาลัย 59
เกษตรศาสตร์ที่แม่โจ้เป็น “โรงเรียนเตรียมวิทยาลัยเกษตรศาสตร์”
วิทยาลัยเกษตรศาสตร์ที่บางเขน ประกอบขึ้นด้วย 3 แผนก
ได้แก่ แผนกเกษตรศาสตร์ แผนกสหกรณ์ ส่วนอีกแผนกหนึ่งคือ
สามบูรพาจารย์ หลวงสุวรรณวาจกกสิกิจ (ทองดี เรศานนท์)
“โรงเรียนวนศาสตร์” ซึ่งสังกัดกรมป่าไม้และก่อตั้งในปี พ.ศ. 2479 ที่ พระช่วงเกษตรศิลปการ (ช่วง โลจายะ) และหลวงอิงคศรีกสิการ (อินทรี จันทรสถิตย์)
จังหวัดแพร่ โดยมีหลักเกณฑ์กำาหนดรับนักเรียนที่สำาเร็จจากโรงเรียน
เตรียมฯ แม่โจ้เข้าศึกษาต่อหลักสูตรอนุปริญญาเกษตรศาสตร์ วิทยาลัยเกษตรศาสตร์เปลี่ยนผู้อำานวยการมาสองรุ่น 72 ปี เกษตรศาสตร์ พิพัฒน์แผ่นดินไทย ก่อนจะถึงทศวรรษที่ 1
3 ปี วิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขนนี้มีหลวงสุวรรณวาจกกสิกิจ เมื่อหลวงสุวรรณวาจกกสิกิจได้รับการแต่งตั้งเป็นผู้เชี่ยวชาญ
ซึ่งขณะนั้นดำารงตำาแหน่งผู้เชี่ยวชาญพิเศษประจำากรมเกษตรและ ฝ่ายการปศุสัตว์และสัตว์พาหนะ กรมปศุสัตว์และสัตว์พาหนะ
การประมงเป็นผู้อำานวยการวิทยาลัยอีกตำาแหน่ง นายเริ่ม บูรณฤกษ์ นายเริ่ม บูรณฤกษ์ จึงขึ้นดำารงตำาแหน่งแทนจนถึงปี พ.ศ. 2485
เป็นผู้ช่วยผู้อำานวยการที่บางเขน นายพนม สมิตานนท์ เป็นผู้ช่วย นายเริ่มได้ย้ายไปดำารงตำาแหน่งหัวหน้ากองเคมี กรมเกษตร
ผู้อำานวยการโรงเรียนเตรียมฯ ที่แม่โจ้ ส่วนหลวงวิลาศวนวิทดำารง นายจรัด สุนทรสิงห์ จึงรักษาการตำาแหน่งผู้อำานวยการวิทยาลัย
ตำาแหน่งผู้อำานวยการโรงเรียนวนศาสตร์ เกษตรศาสตร์จนถึงปี พ.ศ. 2486
เนื่องจากกระทรวงเกษตราธิการกำาลังขาดแคลนบุคลากร ระหว่างนั้นเอง รัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม ซึ่งมีนโยบาย
การดำาเนินงานของวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ระยะนั้นจึงเป็นการผลิต ส่งเสริมให้ประชาชนทำาสวนครัว เลี้ยงไก่ และพึ่งตนเองทางเกษตร
ข้าราชการเพื่อตอบสนองกระทรวงเกษตราธิการเป็นส่วนใหญ่ ในปี ได้เล็งเห็นความสำาคัญของการพัฒนาการศึกษาด้านเกษตรกรรม
พ.ศ. 2484 ขณะที่ทั่วโลกกำาลังอยู่ในภาวะตึงเครียดจากสงครามโลก ให้ก้าวหน้า “สามเสือเกษตร” อันได้แก่ หลวงสุวรรณวาจกกสิกิจ
ครั้งที่ 2 สถานีวิจัยเกษตรและวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน พระช่วงเกษตรศิลปการ และหลวงอิงคศรีกสิการ ซึ่งขณะนั้นดำารง
ได้แปรสภาพเป็นฐานที่พักของกองทหารญี่ปุ่น ทัพญี่ปุ่นยื่นคำาขาด ตำาแหน่งสำาคัญๆ ในแวดวงเกษตร จึงร่วมกันเสนอผลักดันให้เกิด
ให้ชาวเกษตรออกจากบริเวณที่ตั้งภายใน 1 วัน หลังสงครามสงบ สถานศึกษาด้านเกษตรระดับอุดมศึกษาขึ้น จนกระทั่งเป็นผลให้
ปลายปี พ.ศ. 2485 เกิดนำ้าท่วมใหญ่กรุงเทพฯ คันเขื่อนกั้นนำ้าจากการ วิทยาลัยเกษตรศาสตร์ยกฐานะขึ้นเป็น “มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์”
ออกแบบไว้ล่วงหน้าช่วยปกปักให้บริเวณของเกษตรกลางบางเขน ซึ่งประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2486 และ
พ้นจากอุทกภัย อีกทั้งยังเป็นที่พึ่งพิงของชาวบ้านในละแวกนั้นอีกด้วย ยึดวันดังกล่าวเป็นวันครบรอบสถาปนามหาวิทยาลัยมาจนถึงปัจจุบัน