Page 20 -
P. 20

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว





















                  เกษตรศาสตร์




                  ในช่วงรอยต่อแห่งการพัฒนา
      18
      18
       72 ปี เกษตรศาสตร์ พิพัฒน์แผ่นดินไทย       เกษตรศาสตร์ในช่วงรอยต่อแห่งการพัฒนา


                                นับตั้งแต่ก่อตั้งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์จนมีอายุครบ 72 ปี   ของมหาวิทยาลัยมีประสิทธิภาพมากขึ้น เมื่อการบริหารจัดการ
                          ในปี พ.ศ. 2558 เป็นอีกห้วงเวลาหนึ่งที่มหาวิทยาลัยอันเก่าแก่แห่งนี้  มหาวิทยาลัยมีประสิทธิภาพและคุณภาพ นั่นหมายถึงการผลิต
                          จะเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่อีกครั้ง นั่นคือการประกาศ  บัณฑิตได้ตรงกับความต้องการของประเทศชาติมากขึ้นด้วย”

                          ใช้พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พ.ศ. 2558 แทนที่      จากโรงเรียนเกษตรกรรมในอดีตจนถึงปัจจุบัน  มหาวิทยาลัย
                          พระราชบัญญัติฉบับเดิม (พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์   เกษตรศาสตร์ยังคงมุ่งมั่นสร้าง “ศาสตร์แห่งแผ่นดิน” เพื่อความ
                          พ.ศ. 2541) ซึ่งเป็นการปรับเปลี่ยนสถานะจาก “มหาวิทยาลัย  กินดีอยู่ดีของคนในชาติ (ศาสตร์แห่งแผ่นดิน เกิดจากการบูรณาการ

                          ของรัฐ” มาสู่ “มหาวิทยาลัยในกำากับของรัฐ” หรือที่เรียกกัน  3 ศาสตร์ ได้แก่ ศาสตร์พระราชาซึ่งเป็นพระบรมราโชวาทที่
                          อย่างง่ายคือ “การออกนอกระบบ”                           พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระราชทานแก่ผู้สำาเร็จการศึกษา
                                สาระสำาคัญของพระราชบัญญัติดังกล่าวคือ  สภา เมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2520 ศาสตร์ชุมชนคือความกินดีอยู่ดี
                          มหาวิทยาลัยจะมีอำานาจในการออกกฎระเบียบหรือกฎเกณฑ์ ของประเทศชาติ และศาสตร์สากลคือองค์ความรู้และความเป็นเลิศ
      72 ปีเกษตรศาสตร์ พิพัฒน์แผ่นดินไทย      ธ เสด็จ ณ เกษตรศาสตร์
                          ต่างๆ แทนระบบเดิมที่ต้องผ่านกระบวนการหลายขั้นตอนในระบบ ทางวิชาการ) โดยผลิตบัณฑิตที่มีความเป็นเลิศทางวิชาการควบคู่

                          ราชการ อำานาจนี้จะเปิดโอกาสให้การบริหารจัดการในมหาวิทยาลัย ไปกับจิตใจที่ดีและความเป็นมนุษย์ปุถุชน
                          มีความคล่องตัวเพิ่มมากขึ้น ทั้งการจัดการทรัพย์สิน พัสดุ การเงิน     ความอิสระและคล่องตัวที่เพิ่มมากขึ้นเมื่อมหาวิทยาลัย
                          และวิชาการ รวมทั้งสามารถออกกฎหมายหรือกฎระเบียบเพื่อ  ออกนอกระบบ เป็นประเด็นท้าทายต่อมหาวิทยาลัยให้บริหาร

                          สร้างประโยชน์ให้กับประชาคมชาวเกษตรศาสตร์ได้            จัดการตนเองอย่างมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้ฝ่าย
                                รองศาสตราจารย์ ดร.วิโรจ อิ่มพิทักษ์ อธิการบดีมหาวิทยาลัย  สภามหาวิทยาลัยและฝ่ายบริหารมีหน้าที่ถ่วงดุล ตรวจสอบ และ
                          เกษตรศาสตร์ คนที่ 13 (พ.ศ. 2545 - 2549) และนายกสภา บริหารงานร่วมกัน สภามหาวิทยาลัยมีหน้าที่หลักเป็นผู้กำากับ
                          มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์คนปัจจุบัน  (นับเป็นลำาดับที่ 28)  กล่าวว่า   ดูแลฝ่ายบริหาร โดยวางกรอบนโยบายการพัฒนามหาวิทยาลัย
                          “การเปลี่ยนมาเป็นมหาวิทยาลัยในกำากับของรัฐจะส่งผลให้การ ในช่วงระยะเวลาทั้งในระยะสั้นและระยะยาว ภายใต้การยอมรับ

                          บริหารจัดการมหาวิทยาลัยมีความคล่องตัว มีอิสระ การดำาเนินงาน  จากประชาคมชาวเกษตรศาสตร์รวมถึงหน่วยงานภายนอก
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25