Page 40 -
P. 40

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                             30








                  เช่นกัน  ถ้าแรงกดไม่มากพอการอัดตัวของดินก็จะไม่เกิดขึ้น  ในปัจจุบันเครื่องจักรกลเกษตร

                  มีน ้าหนักมาก  ท าให้เกิดการอัดตัวของดิน ยิ่งลึกลงไปในชั้นดินมากขึ้น น ้าหนักกดก็น้อยลง

                  เช่นกัน  ดังนั้นการอัดตัวของดินในการเกษตร  มักจะเกิดชั้นบนสุดของดินล่าง  ส่วนใหญ่ดิน
                  ที่มีการอัดตัวแน่นนี้เป็นผลมาจากการไถพรวนดิน   จึงเรียกการอัดตัวของดินชั้นนี้ว่าชั้นดาน

                  ไถพรวน (plow pan)  อนุภาคดินชั้นที่มีการไถพรวนอาจถูกชะล้างโดยน ้าไหลลงสู่ดินล่าง

                  ท าให้ความหนาแน่นดินชั้นนี้สูงขึ้น  ในดินทราย (sand) ส่วนที่อัดแน่นแทบจะมองด้วยตา

                  เปล่าไม่เห็น  แต่ในดินเหนียว (clay) ดินชั้นดานไถพรวนจะเป็นก้อนแข็งมาก  ถ้าน ้าหนัก
                  เครื่องจักรกลเกษตรกระท ากับดินยิ่งเพิ่มมากขึ้น ก็จะท าให้ความหนาชั้นดานไถพรวนเพิ่ม

                  มากขึ้นด้วย



                  2.3 ความชื้นดิน (Soil  moisture content)
                         ความชื้นดินในดินเกษตรกรรม คือ  ค่าอัตราส่วนมวลของน ้าต่อมวลดินสภาพแห้ง

                  วิธีการทั่วไปเพื่อหาค่าความชื้นในตัวอย่างดินคือ  ชั่งน ้าหนักดินชื้น   และน าตัวอย่างดินอบ

                                           0
                  ในตู้อบที่อุณหภูมิ 100 – 110  C  จนกระทั่งน ้าหนักตัวอย่างดินมีค่าคงที่    ขณะนี้น ้าถูกระเหย
                  ออกจากตัวอย่างดินหมดแล้ว        อย่างไรก็ตามสามารถใช้ระยะเวลาอบดินในตู้อบเท่ากับ 24

                  ชั่วโมงได้

                         เนื่องจากความชื้นดินเป็นตัวประกอบส าคัญในการหาสมบัติทางฟิสิกส์ของดิน     วิธี
                  ทางอ้อม (indirect  method) ที่ถูกพัฒนาขึ้นมาเพื่อใช้หาค่าความชื้นดิน  การหาค่าความชื้นดิน

                  ทางอ้อมเป็นการวัดค่าโดยตรงในแปลงเกษตรกรรม   หลักการบางอย่างที่เกี่ยวข้องกับการหา

                  ค่าความชื้นดินทางอ้อม (ASAE, 1994)  คือ
                       1)   Soil moisture tension หาโดยวิธี Tensiometer

                       2)   Neutron scattering

                       3)    Gamma – ray attenuation

                       4)  Electrical resistance or capacitance of absorbent materials in moisture tension
                           equilibrium with the soil

                       5)  Thermoelectronic methods using a heat dissipation sensor
   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45