Page 141 -
P. 141

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว


                  ทศวรรษที่ 8















                  ก้าวสู่ทศวรรษที่ 8




                  72 ปี นนทรีงามสง่า

      132
                  ในพงพฤกษาแห่งโลกาภิวัตน์                                             ในด้านการวิจัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ได้สานต่อ
       72 ปี เกษตรศาสตร์ พิพัฒน์แผ่นดินไทย       ทศวรรษที่ 8  สังคมขยายตัวไปกว้างไกล มิได้จำากัดแต่เพียงแหล่งเรียนรู้และผลิต  บทบาทการพัฒนาเป็นมหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ เพื่อให้มหาวิทยาลัย

                                บทบาทของสถาบันการศึกษาในยุคที่สภาพเศรษฐกิจและ



                          บัณฑิตเท่านั้น มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ซึ่งถือเป็นมหาวิทยาลัยที่  เกษตรศาสตร์เป็นมหาวิทยาลัยวิจัยชั้นนำาในภูมิภาคอาเซียน
                          ได้รับการยอมรับในด้านความเป็นเลิศระดับนานาชาติ มีวิสัยทัศน์ที่   สอดคล้องกับการเปิดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนในอนาคต
                          จะสามารถเป็นแกนนำาในการระดมภูมิปัญญาเพื่อพัฒนาประเทศ  โดยเปิดโอกาสให้นักวิจัยและผู้ช่วยวิจัยได้ใช้ศักยภาพสร้างสรรค์
                          อย่างยั่งยืน และมีอำานาจต่อรองในประชาคมโลก ยุทธศาสตร์ใน  และการพัฒนางานวิจัยอย่างเต็มศักยภาพภายใต้การให้คำาแนะนำา
                          การพัฒนานอกจากด้านการผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ควบคู่คุณธรรม  ของนักวิจัยอาวุโสที่เป็นพี่เลี้ยง นอกจากนี้ บทบาทในด้านการเป็น

                          แล้ว ยังเน้นในเรื่องของงานวิจัย ถ่ายทอดองค์ความรู้ให้สังคม ทำานุ  มหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ 1 ใน 9 แห่ง ยังเป็นปัจจัยสำาคัญที่ช่วย
                          บำารุงศิลปวัฒนธรรมไทย และคงไว้ซึ่งระบบการบริหารจัดการที่มี  ผลักดันให้มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์สามารถพัฒนางานด้านวิจัย
                          ประสิทธิภาพ                                            ในระดับโลกได้

                                ภายใน 4 ปีข้างหน้า มหาวิทยาลัยตั้งเป้าหมายไว้ว่า บัณฑิต     ในด้านการให้บริการทางวิชาการสู่สังคม เป็นพันธกิจที่
                          จบใหม่จะได้งานทำาถึงร้อยละ 80 สามารถปฏิบัติงานได้จริง และ  มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ดำาเนินมาตั้งแต่เริ่มก่อตั้งมหาวิทยาลัย
                          สร้างความพึงพอใจให้กับหน่วยงานที่บัณฑิตเหล่านั้นได้เข้าไป  อย่างไรก็ตาม แม้การให้บริการทางวิชาการหลายๆ โครงการจะเป็นไป
                          ปฏิบัติงาน การเสริมสร้างศักยภาพทุกวิทยาเขตให้ได้มาตรฐาน   เพื่อประโยชน์สาธารณะ แต่การให้บริการทางวิชาการแก่เอกชน
                          โดยพัฒนาอาจารย์และนักวิชาการให้เท่าทันต่อการเปลี่ยนแปลง  เพื่อนำาไปใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ ยังเป็นช่องทางสำาคัญที่ทำารายได้

                          ของโลก เป็นภารกิจสำาคัญเช่นเดียวกับการส่งเสริมให้คณาจารย์  ให้กับมหาวิทยาลัยอีกด้วย
                          ร่วมทำางานกันเป็นทีม นอกจากนี้แล้วยังปรับปรุงระบบการเข้าศึกษา      ขณะที่การส่งเสริมวัฒนธรรมไทยในสังคมเป็นพันธกิจสำาคัญ
                          เพื่อเอื้อต่อผู้เรียนในภูมิภาคและผู้เรียนที่ด้อยโอกาสได้เข้ามา  ในยุคไร้พรมแดน มหาวิทยาลัยสนับสนุนการแลกเปลี่ยนทาง

                          มีโอกาสทางการศึกษาเพิ่มขึ้นด้วย                        วัฒนธรรมระหว่างสถาบันกับภูมิภาคต่างๆ เพื่อก่อให้เกิดการเรียนรู้
   136   137   138   139   140   141   142   143   144   145   146