Page 15 -
P. 15
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
v
สัญลักษณ์ (ต่อ)
สัญลักษณ์ ความหมาย
f 2 ปัจจัยด้านความชื้นในดินที่เกี่ยวข้องกับการระเหยน ้า
2
2
g ความเร่งเนื่องจากความโน้มถ่วงของโลก มีค่า 9.8 เมตรต่อวินาที (m/s )
2
G พลังงานที่เก็บสะสมไว้ในดิน มีหน่วยเป็นวัตต์ต่อตารางเมตร (W/m )
ค่าคงที่ของความโน้มถ่วงสากล มีค่า 6.67 10 นิวตันต่อตารางเมตรต่อ
-11
G
2
กิโลกรัม (N /m .kg)
h ค่าคงที่ของพลังค์ มีค่าเท่ากับ 6.625 10 จูลวินาที (J. s)
-34
H ส่วนกลับของค่าคงที่ในการลดความดันอากาศตามความสูง (scale height)
H s ค่าความร้อน
i ความหนักเบาของฝน (mm/hr)
2
I R เออร์เรเดียนซ์มีหน่วยเป็นวัตต์ต่อตารางเมตร (W/m )
K ค่าสัมประสิทธิ์ของการถ่ายโอนไอน ้าจากผิวน ้าสู่บรรยากาศซึ่งเป็นฟังก์ชันของ
ความเร็วลมเหนือผิวน ้า 2.0 เมตร (ความเร็วลมมีหน่วยเป็นเมตรต่อวินาที)
K สัมประสิทธิ์การกระเจิงพลังงานเชิงพื้นที่ ซึ่งเป็นสัดส่วนของพื้นที่ภาคตัดขวางของ
1 สสารที่กระเจิงพลังงานต่อภาคตัดขวางของพื้นที่ที่พลังงานตกกระทบ
-23
k ค่าคงที่ของโบลทซ์มานน์ = 1.38 10 จูลต่อโมเลกุลของวัตถุด าต่อเคลวิน (J
b
-1
-1
molecule K )
K c สัมประสิทธิ์ของการส่งผ่านพลังงานผ่านเรือนยอด
k cls สัมประสิทธิ์ซึ่งแสดงอิทธิพลของเมฆกับการลดพลังงานจากดวงอาทิตย์
K h สัมประสิทธิ์ของการถ่ายโอนความร้อนแบบอลวน
K m สัมประสิทธิ์ของการถ่ายโอนโมเมนตัมแบบอลวน
k n อัตราการเปลี่ยนแปลงค่าของปัจจัยด้านความเจริญเติบโตของพืชกับดัชนีพื้นที่ใบ
k v ค่าคงที่ฟันคาร์มานน์ มีค่า 0.41
K v สัมประสิทธิ์ของสภาพการแพร่ของไอน ้าแบบอลวน
L d อัตราการลดอุณหภูมิของอากาศแห้งตามความสูงแบบอะเดียแบติก
L e เกรเดียนท์ของอุณหภูมิของอากาศหรืออัตราการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของอากาศที่
1 อยู่รอบกลุ่มอากาศ
L s เกรเดียนท์ของอุณหภูมิ เมื่ออากาศอิ่มตัวด้วยไอน ้าหรืออัตราการลดอุณหภูมิของ
1 อากาศอิ่มตัวด้วยน ้าตามความสูงแบบสูโดอะเดียแบติก