Page 96 -
P. 96
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
87
เดียวกัน คือ ทําการสงคาความสวางของทุกพิกเซลบวกดวยหนึ่งใหกับตาราง ซึ่ง
สามารถทําไดดังนี้
>> imOut = cTable(im+1);
ในกรณีที่กราฟในแตละชวงใชสมการกราฟที่แตกตางกันเชนรูปที่ 3.9 เราจะตองทํา
การตอขอมูลของแตละสมการไวในอารเรยเดียวกัน จากกราฟเราจะเห็นวาความ
สวางในชวง [0,40],[41,190] และ [191,255] ถูกเปลี่ยนคาความสวางดวยสมการเชิง
เสนดังตอไปนี้
16
g (u ) = u = 4 . 0 u 0 , ≤ u ≤ 40
40
( 226 − 16 )
g (u ) = ( −u 40 ) + 16 = 4 . 1 u − 40 , 40 < u ≤ 190
( 190 − 40 )
( 255 − 226 )
g (u ) = ( −u 190 ) + 226 = . 0 446 +u 141 . 23 , 190 < u ≤ 255
( 255 − 190 )
(3.3)
ชุดคําสั่ง MATLAB สําหรับการสรางตารางเปนดังนี้
>> cTable1 = 0.3*[0:40];
>> cTable2 = 0.75*[41:230]+12;
>> cTable3 = 0.3*[241:255]+22;
>> cTable = uint8(floor([cT1 ct2 cT3]));
3.3 การทําฮีสโตแกรมอีควอไลเซชั่น (Histogram Equalization)
Histogram Equalization (HE) จัดเปนเทคนิคหนึ่งในการทํา gray-scale
transformation โดย HE เปนเทคนิคสําหรับปรับคาความสวางของภาพอินพุตใหได
ภาพเอาทพุตที่มีการกระจายตัวของคาความสวางภายในภาพแบบสม่ําเสมอ (uniform