Page 71 -
P. 71

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี







                 62

                             >> im = imread('pcb.bmp');

                             >> figure; colormap(gray);
                             %แสดงองคประกอบสีแดงของภาพ

                             >> subplot(3,1,1), imshow(im(:,:,1)), title(‘Red Component’);

                             %แสดงองคประกอบสีเขียวของภาพ

                             >> subplot(3,1,2), imshow (im(:,:,2)) , title(‘Green Component’);
                             %แสดงองคประกอบสีน้ําเงินของภาพ

                             >> subplot(3,1,3), imshow (im(:,:,3)) , title(‘Blue Component’);



                          คําสั่ง subplot(m,n,p) ที่ใชในตัวอยางเปนคําสั่งใหแสดงภาพยอยหลาย ๆ ภาพภายใน
                          หนาตางรูปหนึ่งหนาตาง โดยโปรแกรมจะแบงหนาตางยอยออกเปน m แถว n หลัก

                          และแสดงภาพที่กําหนดไวในหนาตางยอยที่  p  เลขที่ยอยของหนาตางกําหนดเรียง

                          ตามลําดับกันไป โดยเริ่มนับจากแถวที่หนึ่ง หลักที่ 1 เรื่อยไปจนหลักที่ n แลวเริ่มนับ
                          ตอในแถวถัดไป และนับไปจนถึงแถวที่ m เลขที่ยอยของหนาตางรูปเมื่อ m = 2 และ

                          n = 2 แสดงในรูปที่ 2.5









                                              subplot(2,2,1)      subplot(2,2,2)






                                              subplot(2,2,3)      subplot(2,2,4)





                                      รูปที่ 2.6 การกําหนดเลขที่หนาตางยอย ในคําสั่ง subplot(.)
   66   67   68   69   70   71   72   73   74   75   76