Page 35 -
P. 35

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี







                 26

                             >> readImage



                          การเขียนในลักษณะรวบรวมคําสั่งตาง  ๆ  เขาไวดวยกันนี้  เรียกวา  การเขียนสคริปต

                          (scripts) การเขียนลักษณะนี้มีขอดีที่ทําใหเราสามารถเรียกประมวลผลชุดคําสั่งเดิมซ้ํา

                          ๆ ได ทําใหลดเวลาที่ใชในการพัฒนาโปรแกรมที่ตามหลังมาได

                          นอกจากเราจะใชโปรแกรมชวยเขียนทั่วไปในการสรางสคริปตไฟลแลว      เรายัง
                          สามารถใชโปรแกรมชวยเขียนที่มาพรอมกับโปรแกรม      MATLAB       ที่เรียกวา

                          โปรแกรม  MATLAB Editor ในการเขียนสคริปตไฟลได การเขียนทําไดโดยเรียกใช

                          หนาตาง  MATLAB Editor ดวยการไปที่เมนู กดปุม File แลวเลือก New และ M-File
                          ในหนาตาง Editor  จะมีเมนูสําหรับการเขียนและการจัดเก็บไฟลอยูพรอมคลายกับ

                          โปรแกรมชวยเขียนทั่วไป แต MATLAB Editor จะบันทึกไฟลดวยนามสกุล .m แบบ

                          อัตโนมัติ  และมีปุมกดเพื่อทําการรันและแกไข (debug)  โปรแกรม  เพิ่มเติมจาก

                          โปรแกรมชวยเขียนทั่วไป      เปนการเพิ่มความสะดวกและทําใหงายตอการพัฒนา
                          โปรแกรม รูปที่ 1.20 แสดงหนาตาง Matlab Editor พรอมปุมรัน รายละเอียดตาง ๆ ที่

                          เกี่ยวกับการใชงาน MATLAB Editor  ผูอานสามารถหาอานเพิ่มเติมไดจากตําราการ

                          เขียนและใชงานโปรแกรม MATLAB ทั่วไป


























                                              รูปที่ 1.20 หนาตาง MATLAB Editor
   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40