Page 99 -
P. 99

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
 copy right    copy right    copy right    copy right    copy right
 copy right    copy right    copy right    copy right    copy right    copy right
 copy right    copy right    copy right    copy right
                                                                                                       87


                   3  โครงสรางตติยภูมิ (Tertiary structure)

                   โครงสรางตติยภูมิหมายถึงสัณฐานวิทยา (Morphology) ของพอลิเมอร ซึ่งเกี่ยวกับการจัดเรียงสาย
                   โซพอลิเมอรและพันธะที่เกิดขึ้นระหวางสายโซเมื่อมาอยูรวมกันในพอลิเมอร แบงเปนโครงสรางแบบ
     copy right    copy right    copy right    copy right    copy right    copy right
                   ผลึก (Crystalline structure) และโครงสรางแบบอสัณฐาน (Amorphous structure) โครงสรางตติย-

                   ภูมินี้มีอิทธิพลสูงมากตอสมบัติที่เกี่ยวของกับการผลิต การแปรรูป และการใชงานของพอลิเมอร เชน
                   ความหนาแนน จุดหลอมเหลว อุณหภูมิคลายแกว (Glass transition temperature หรือ Tg) ความ
                   หนืด ความแข็งแรง ความทนทานตอความรอน ความตานทานตอปฏิกิริยาเคมี ความใส และสภาพ

                   ใหซึมได เปนตน


                   3.1  สัณฐานวิทยาของพอลิเมอร (Morphology of polymers)

                   โดยทั่วไปพอลิเมอรจะจัดเรียงตัวอยางเปนระเบียบเพื่อเกิดโครงสรางแบบผลึก เปนผลใหเอนโทรป
                   (Entropy) มีคาลดลงอยางมาก (Kelly et al., 2013) จึงเปนสภาวะที่พอลิเมอรมีพลังงานต่ําสุด แต

                   ผลึกมักเกิดไดเปนบริเวณเล็กๆ เทานั้น (ระดับนาโนเมตร) ทั้งนี้ขึ้นกับความสามารถในการเรียงอัด
                   แนนของสายโซ


                   สายโซพอลิเมอรประกอบดวยหนวยซ้ําหรือมอนอเมอรเชื่อมตอดวยพันธะโควาเลนซจนกระทั่งมี

                   ขนาดใหญหรือสายโซยาว แตสายโซยืดเปนเสนไดเพียงเล็กนอยเทานั้น เชน PE ยืดไดเพียง 100
                   อังสตรอม (Angstrom) หลังจากนั้นจะพับทบไปมาและเรียงซอนๆ กัน (Stack) อยางเปนระเบียบ

                   เรียกวา ลาเมลลา (Lamella) แตสายโซไมสามารถเรียงเปนระเบียบไดทั้งหมด บางสวนของสายโซ
                   อาจออกมาอยูนอกลาเมลลา และอาจแกวงกลับเขาไปใหมอีก ทําใหบริเวณนี้เรียงตัวไมเปนระเบียบ

                   ดังแสดงในภาพที่ 4-7 (ก)
                                           copy right       copy right    copy right    copy right



                        copy right    copy right    copy right    copy right    copy right    copy right















                   ภาพที่ 4-7 สัณฐานวิทยาของพอลิเมอร

                   ที่มา: ดัดแปลงจาก http://www.pslc.ws/macrog/crystal.htm; Ramanathan and Darling (2011)







                                                              copy right    copy right    copy right    copy right
   94   95   96   97   98   99   100   101   102   103   104