Page 5 -
P. 5
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
iv
ตัวอยางของปฏิกิริยาลูกโซ โดยแตละปฏิกิริยาไดนําเสนอที่มาของสมการที่ใชและตัวอยางปฏิกิริยา
เพื่อใหเกิดความเขาใจยิ่งขึ้น บทที่ 4 กลไกของปฏิกิริยามูลฐานของแกส มีการเนนรายละเอียดแสดง
กฎอัตราที่ไดจากปฏิกิริยามูลฐานของแกสแบบโมเลกุลเดี่ยว บทที่ 5 – 6 ปฏิกิริยาที่มีตัวเรงแบบเอก
พันธุและวิวิธพันธุ มีการเพิ่มความรูเรื่องการดูดซับของสารที่มีวัฏภาคตางจากพื้นผิวของของแข็งใน
บทที่ 6 โดยเนนรายละเอียดของไอโซเทอรมแลงเมียร สวนบทที่ 7 เปนวิธีของการศึกษา
จลนพลศาสตรเคมีทางภาคปฏิบัติ เพื่อใหไดผลการทดลองและนํามาใชตรวจสอบจลนพลศาสตร
เคมี และกลไกของปฏิกิริยาที่เสนอจากความคิดที่เปนไปไดทางเคมี และบทสุดทายคือทฤษฎีของ
อัตราการเกิดปฏิกิริยา เปนบทที่ทําใหทราบถึงแนวคิดตางๆ ของปฏิกิริยาเคมี และมีรายละเอียดใน
หลักการทางเคมีเชิงฟสิกสและคณิตศาสตรที่คอนขางยาก ดังนั้นเนื้อหาของบทนี้จึงเหมาะสําหรับผู
ที่สนใจเคมีเชิงฟสิกสอยางลึกซึ้ง
นอกจากนี้ยังมีแบบฝกหัดตอนทาย 5 หัวขอใหมเพื่อทบทวนความรู ความเขาใจใน
จลนพลศาสตรเคมี และภาคผนวกอีก 4 บท คือ ภาคผนวก 1 ประกอบดวยหนวยตางๆ ของปริมาณ
ทางกายภาพและกฎพื้นฐานทางคณิตศาสตรที่ใชในจลนพลศาสตร ภาคผนวก 2 ประกอบดวย
คาคงที่และขอมูลทางจลนพลศาสตร ภาคผนวก 3 เกี่ยวกับทฤษฎีจลนโมเลกุลของแกส และ
ภาคผนวก 4 แสดงการหาสมการคาคงที่อัตราเพิ่มเติมจากทฤษฎีการชนในบทที่ 8
ผูเขียนหวังเปนอยางยิ่งวา ตํารา จลนพลศาสตรเคมี เลมนี้จะเปนประโยชนในการศึกษา
จลนพลศาสตรเคมี และขอขอบคุณหากผูใชตํารานี้จะกรุณาเสนอแนะหรือทวงติงใดๆ เพื่อเปน
ประโยชนตอการปรับปรุงตําราใหสมบูรณมากขึ้นในโอกาสตอไป
เพ็ญศรี บุญสวรรคสง และ
นุชนาถ ศุภพิพัทฒน
ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร