Page 20 -
P. 20

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






                                                                                                        7



                               4) สงเสริมการปลูกสรางสวนยางใหมีมาตรฐาน เกื้อกูลระบบนิเวศนและสิ่งแวดลอม
                               5) พัฒนาระบบการบริหารจัดการองคกร เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการ

                            1.5 วัตถุประสงค

                               1) เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิตยางพารา และพัฒนาระบบตลาด เพิ่มรายไดและ
                       ลดตนทุนการผลิตใหกับเกษตรกร
                               2)  เพื่อใหเกษตรกรมีความมั่นคงในการประกอบอาชีพ และสถาบันเกษตรกรมีการ

                       ดําเนินการที่มีมาตรฐานอยางตอเนื่อง
                               3) เพื่อใหการใชทรัพยากรอยางมีประสิทธิภาพ คุมคา   และฟนฟูทรัพยากรใหมีความ
                       เหมาะสมตอการผลิต โดยเกษตรกรและสถาบันเกษตรกรเขามามีสวนรวมในการบริหารจัดการ
                       ทรัพยากรและสิ่งแวดลอม

                               4) เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการองคกร บุคลากรสามารถปฏิบัติงานอยางเต็ม
                       ศักยภาพ สอดรับกับการเปลี่ยนแปลง  ใหการปฏิบัติงานเปนไปตามวัตถุประสงค เปาหมาย  และเปน
                       องคกรที่ดําเนินกิจกรรมภายใตหลักธรรมาภิบาล

                            1.6 เปาหมายหลัก

                               1) เพิ่มผลผลิตโดยการใหการสงเคราะหปลูกแทนโดยใชพันธุยางที่ใหผลผลิตสูงกวา
                       ตนยางเกา และใชเทคโนโลยีที่เหมาะสมเพื่อใหสวนสงเคราะหตั้งแตรุนป  2555 สามารถใหผลผลิต

                       ไดภายใน 6 ป และสงเสริมใหมีการปลูกยางเพิ่มในพื้นที่เหมาะสม
                               2) ลดตนทุนการผลิตโดยการสงเสริมใหเกษตรกรชาวสวนยางใชทรัพยากรอยางคุมคา
                       อนุรักษสิ่งแวดลอมและมีความรูสามารถใชเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการดูแลรักษาสวนและเก็บเกี่ยว

                       ผลผลิต รวมทั้งรวมกันในการบริหารจัดการผลผลิตและการจําหนายผลผลิตอยางมีประสิทธิภาพ
                               3)  สรางความมั่นคงใหกับเกษตรกร   โดยสงเสริมใหมีการรวมตัวเพื่อดําเนินกิจกรรมและ
                       ชวยเหลือซึ่งกันและกันในเรื่องการผลิต การแปรรูป การตลาด อาชีพเสริม และอื่นๆ ตามความ
                       เหมาะสมและพัฒนาไปสูเปนสถาบันเกษตรกรที่เปนนิติบุคคล
                               4) ดําเนินการตลาดประมูลยางระดับทองถิ่นครอบคลุมพื้นที่ที่สงเสริมใหปลูกยางพารา

                       และตลาดไดรับการยอมรับจากผูใชบริการ ราคาซื้อขายเปนราคาอางอิงของราคาในตลาดทองถิ่น
                               5) ปรับปรุงระบบบริหารจัดการองคกรใหเทียบเทามาตรฐานสากลและเสริมสรางทัศนคติ
                       คานิยม วัฒนธรรมการทํางาน   พรอมรับการเปลี่ยนแปลง รวมถึงเสริมสรางศักยภาพในการ

                       ดําเนินงานสูความเปนเลิศภายใตหลักธรรมาภิบาล

                            1.7 ยุทธศาสตร

                               เพื่อใหบรรลุถึงจุดมุงหมายของพันธกิจ วัตถุประสงค   และเปาหมายในชวงแผนวิสาหกิจ
                       ฉบับที่ 6 (พ.ศ. 2555-2559) ไดกําหนดยุทธศาสตรในการดําเนินงานไว 4 ยุทธศาสตร ดังนี้
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25