Page 69 -
P. 69

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว


                                                                                                      12-14



                                               (3)  สนับสนุนและส่งเสริมด้านการวิจัยพัฒนา เร่งรัดการกระจายพันธุ์
                   พืช พันธุ์สัตว์ และประมงที่มีคุณภาพ และทั่วถึงแก่เกษตรกร เพื่อปรับปรุงคุณภาพ เพิ่มผลผลิต และลด

                   ต้นทุนการผลิต ในภาคการเกษตร  ปศุสัตว์ และการประมง รวมทั้งการเร่งรัดป้องกันการระบาดของ

                   โรคพืช และสัตว์
                                               (4)     ส่งเสริมและฟื้นฟูระบบการผลิตการเกษตรที่เน้นการใช้

                   ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน  และมีผลกระทบต่อระบบนิเวศน์และสิ่งแวดล้อมน้อยที่สุด ตามแนว
                   พระราชด าริว่าด้วยทฤษฎีใหม่ รวมทั้งเร่งรัดโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด าริให้เสร็จสิ้นตาม

                   แผนงานที่ก าหนดไว้

                                               (5)  เพิ่มขีดความสามารถให้แก่เกษตรกร สถาบันเกษตร และสหกรณ์
                   โดยการสนับสนุนกระบวนการถ่ายทอดความรู้ วิชาการ ข้อมูลที่ส าคัญอย่างเป็นระบบ เพื่อให้เกษตรกร

                   สถาบันเกษตร และสหกรณ์สามารถพึ่งพาตนเองได้ ทั้งในด้านการผลิต การตลาด และการแปรรูป

                   สินค้าเกษตรและเป็นศูนย์กลางในการเรียนรู้ของชุมชนในชนบท
                                                (6) สนับสนุนให้เกษตรกรได้รับราคาสินค้าเกษตรที่มีเสถียรภาพและ

                   เป็นธรรม เพื่อเพิ่มรายได้ให้สูงขึ้น โดยการสนับสนุนการเพิ่มผลผลิต การพัฒนาคุณภาพสินค้า การ

                   พัฒนาเทคโนโลยีการผลิต และการตลาดพร้อมกันนี้จะเร่งพัฒนาระบบชลประทานให้เชื่อมโยงครบตาม
                   แผนแม่บทที่มีอยู่ รวมทั้งด าเนินการปฏิรูปที่ดินและแก้ปัญหาเรื่องที่ดินท ากินของเกษตรกรอย่าง

                   ต่อเนื่อง เพื่อช่วยให้การปรับโครงสร้างเพื่อเพิ่มผลผลิตได้ผลเร็วขึ้น”(ส านักเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร,
                   2540: 479-480)

                           วันที่ 25 พฤศจิกายน 2540 คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติมาตรการแก้ไขปัญหาราคายางพาราตกต่ า

                   ตามที่กระทรวงเกษตรและสหกรณ์เสนอ 3  ข้อ คือ 1.  อนุมัติให้ขยายระยะเวลาวงเงินกู้ธนาคารกรุงไทย จ ากัด
                   (มหาชน) จากสิ้นสุดในวันที่ 30 ธันวาคม 2540 และ 31 ธันวาคม 2541 เป็นสิ้นสุดในวันที่ 30 ธันวาคม 2542 โดยให้

                   กระทรวงการคลังเป็นผู้ค้ าประกัน 2. อนุมัติให้กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ด าเนินการโครงการแทรกแซงตลาด
                   ยางพารา ต่อไป ทั้งนี้ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2540 -31 มีนาคม 2541 3. อนุมัติให้กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

                   น ายางที่องค์การสวนยาง มีอยู่ออกจ าหน่ายต่างประเทศ โดยวิธีการที่เหมาะสมนอกเหนือจากวิธีขายรัฐต่อ

                   รัฐ  และให้รับข้อสังเกตของคณะรัฐมนตรีไปพิจารณาด าเนินการด้วย ดังนี้ 1.  การแทรกแซงตลาด  ควรให้
                   คณะกรรมการนโยบายยางธรรมชาติเป็นผู้พิจารณาก่อนน าเสนอคณะรัฐมนตรี 2.  การปฏิบัติงานตาม

                   โครงการแทรกแซงตลาดยางพารา ควรให้ผู้ที่เกี่ยวข้องและมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องยางพารา เป็น

                   กรรมการหรือเป็นผู้ด าเนินการ 3. การซื้อ การเก็บ และรมควันยางพารา ควรมอบให้กระทรวงเกษตรและ
                   สหกรณ์รับผิดชอบ ส่วนการขายนั้น กระทรวงเกษตรและสหกรณ์  ควรประสานงานกับกระทรวงพาณิชย์

                   หรือมอบให้ กระทรวงพาณิชย์รับผิดชอบ  เพื่อให้เกิดความชัดเจนและสามารถตรวจสอบกันได้ 4.  ในการ
                   ด าเนินงานตามโครงการฯ ควรใช้มาตรการแทรกแซงเป็นช่วงๆ เพื่อให้เกิดผลทางจิตวิทยา โดยปรับระดับ
   64   65   66   67   68   69   70   71   72   73   74