Page 57 -
P. 57

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว


                                                                                                       12-2



                                         1.1    ส่งเสริมการอนุรักษ์ดินและน้ า รวมทั้งการปรับปรุงบ ารุงดินด้วยวิธีการ
                   ธรรมชาติ วิธีการที่เกษตรกรยอมรับและสามารถถ่ายทอดน าไปปฏิบัติได้ เช่น ส่งเสริมการปลูกพืชแบบ

                   ผสมผสานแทนการปลูกพืชเชิงเดี่ยว โดยปุ๋ยอินทรีย์แทนปุ๋ยเคมี และปลูกพืชตามแนวระดับในพื้นที่ลาด

                   ชัน เป็นต้น
                                         1.2  ส่งเสริมการน าระบบเกษตรทางเลือกในรูปแบบต่างๆ มาใช้ในเขตปฏิรูป

                   ที่ดิน  พื้นที่นากุ้งทิ้งร้าง  และพื้นที่ผ่านการท าเหมืองแร่แล้ว โดยการให้ความรู้  ฝึกอบรม  และ
                   สนับสนุนด้านเงินทุน  ตลอดจนเทคโนโลยีที่เหมาะสม เพื่อให้ราษฎรมีรายได้เพียงพอกับการยังชีพอย่าง

                   ต่อเนื่อง เป็นการลดปัญหาการละทิ้งที่ดิน การใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อวัตถุประสงค์นอกภาคเกษตรกรรม

                   ตลอดจนเพื่อฟื้นฟูสภาพพื้นที่ดินเสื่อมโทรมให้กลับสมบูรณ์ ”
                                  ในส่วนที่ 6 บทที่ 4  การบริหารทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม หน้า 145  มีส่วนที่

                   เกี่ยวข้อง ดังนี้

                                         “2.3  ปรับระบบการจัดการด้านการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม  ให้สามารถ
                   แก้ไขปัญหาเกษตรกรไร้ที่ท ากินทั้งในเรื่องออกเอกสารสิทธิ์  รวมทั้งการจัดระบบการติดตามตรวจสอบ

                   เพื่อให้มีการใช้ประโยชน์ที่ดินท ากินในเขตปฏิรูปเกษตรกรรมอย่างจริงจัง ”  (ส านักงานคณะกรรมการ

                   พัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, 2539: 139-145)
                                  ในส่วนนโยบายน้ าได้ปรากฎในบทที่ 3  การสร้างฐานการผลิตให้พร้อมรับกับการ

                   เปลี่ยนแปลงในตลาดโลก ในหัวข้อ 3.6 หน้า 126 ดังนี้
                                         “3.6      พัฒนาและจัดหาน้ า เพื่อสนับสนุนการเกษตร อุตสาหกรรม

                   การคมนาคม และการอุปโภคบริโภค ทั้งในด้านปริมาณและคุณภาพให้ได้อย่างเพียงพอและทั่วถึงโดย

                                                (1) พัฒนาให้มีแหล่งน้ าดิบขนาดต่างๆ ให้สอดคล้องกับศักยภาพของ
                   ลุ่มน้ าและระบบนิเวศน์ของแต่ละพื้นที่

                                                (2)  ประสานความร่วมมือระหว่างภาครัฐและเอกชนในการ
                   บริหารจัดการและดูแลบ ารุงรักษาแหล่งน้ าที่มีอยู่แล้วให้ใช้ประโยชน์ได้อย่างเต็มที่ โดยเฉพาะกิจกรรม

                   ต่อเนื่องทางด้านการเกษตร

                                                (3)  สนับสนุนบทบาทภาคเอกชนในการลงทุนขยายการผลิตและ
                   การบริการน้ าประปาในเขตเมืองในภูมิภาค

                                                (4)  เพิ่มประสิทธิภาพระบบบริหารจัดการ เพื่อลดปริมาณน้ าสูญเสียของ

                   น้ าประปาทั่วประเทศให้อยู่ในระดับเฉลี่ยไม่เกินร้อยละ 25 ภายในช่วงของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 8
                                                (5)  จัดให้มีการปรับโครงสร้างอัตราค่าน้ าให้สอดคล้องกับต้นทุน

                   ค่าใช้จ่าย  โดยยึดหลักการจัดเก็บค่าน้ าในอัตราที่แตกต่างกันในแต่ละพื้นที่ตามต้นทุนการผลิตในพื้นที่
                   นั้นๆ และตามประเภทของกิจกรรมทางเศรษฐกิจ
   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62