Page 65 -
P. 65
โครงการหนังสืออิเล็คทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ
กับการสนับสนุนการเพิ่มความสมดุล
ในการพัฒนาตามแนวพระราชดำริ
ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
นอกเหนือจากโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริที่
มุ่งเน้นด้านการเกษตรกรรมและการพัฒนาปัจจัย
พื้นฐานเพื่อการดำรงชีพของประชาชนเป็นส่วนใหญ่
แล้วนั้น สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ
ที่เสด็จพระราชดำเนินเคียงคู่พระบาทสมเด็จพระเจ้า
อยู่หัวไปยังพื้นที่ต่างๆ ยังทรงสนับสนุนพระบรมราโชบาย
ในการพัฒนาด้านสาธารณสุข การศึกษา และการสร้าง
อาชีพแก่ราษฎรในแต่ละท้องถิ่นอย่างเหมาะสม ตลอดจนการอนุรักษ์ป่าและสิ่งแวดล้อม
เป็นที่ประจักษ์ชัดแก่นานาประเทศทั่วโลกจนองค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ
(Food and Agriculture Organization of the United Nations) ทูลเกล้าฯ ถวายเหรียญเซเรส
เมื่อวันที่ 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2522 ในฐานะที่พระองค์ทรงเป็นสตรีดีเด่น ทรงอุทิศ
พระองค์พัฒนาสตรีและประชาชนในชนบท และทรงสนับสนุนพระบรมราโชบายของ
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในการเกษตรและที่ดินทำกิน ขอนำคำกล่าวสดุดีจาก
รัฐสภาสหรัฐอเมริกา เมื่อปี ค.ศ. 1995 มาดังต่อไปนี้
“Her deep concern for the welfare of the Thai people is matched by her knowledge of
their needs. Her husband, His Majesty King Bhumibol Adulyadej, has made it his
admirable policy to “visit the people”, spending more than half of each year traveling
around Thailand… Accompanying him on his trips, the queen witnessed at first hand
the hardships of rural life, the damage to forests, wildlife and water supplies caused by
primitive farming practices and the threat posed by modernization to traditional Thai
arts and crafts. It was her inspiration to, in effect, capitalize culture, to train farm
families in producing handicrafts which could be sold to bring in regular income. Since
1978, Queen Sirikit’s SUPPORT Foundation has trained 30,000 such families in crafts
ranging from ceramics to silk-weaving to bamboo basketry.
In 1982, the Queen initiated the Forest-Loves-Water project, to demonstrate that
SUPPORT handicrafts projects could encourage reforestation. At Ban Mae Tam village,
the rich teak forests once threatened by illegal logging are being replaced. Villagers
able to earn a living from cottage industries do not need to rely on tree-cutting or
slash-and-burn farming for subsistence. Under her gentle leadership, through
encouragement and practical training, solutions are being found to pressing
environmental problems.” 12
12
US Congressional Record. Thursday, May 18, 1995, Vol. 141.
61