Page 90 -
P. 90

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                          80



                                                            บทที่ 8


                                                    บทสรุปและขอเสนอแนะ



                          หนังสือฉบับนี้ไดจัดทําขึ้นโดยมีวัตถุประสงคเพื่อเปนแนวทาง   หรือใหวิธีการที่ถูกตองในการ
                   แกไขปญหาการจัดการเลี้ยงดูโคนมทดแทน  ซึ่งเปนปญหาในวงการอุตสาหกรรมโคนมที่เปนที่ยอมรับกัน

                   โดยทั่วไปที่เกิดขึ้นในเกือบทุกฟารมที่เลี้ยงโคนม   โดยไดมีการรวบรวมความรูจากเอกสารและผลการ

                   ปฏิบัติงานจริงที่เกิดขึ้นในฟารม  เพื่อนํามาจัดทําขึ้นใหเปนประโยชนทั้งนักวิชาการและเกษตรกรสามารถ
                   นําไปถายทอดหรือปฏิบัติไดทันที   โดยไมตองนําไปแปลงจากทฤษฎีสูภาคปฏิบัติ   โดยเฉพาะในเรื่อง

                   อาหารซึ่งเนื้อหาจะเนนในเรื่องการจัดการ  ประเภทของอาหารสําหรับโคนม  การใหอาหาร    รวมทั้งการ

                   ประเมินการใหอาหารของโคนมตั้งแตแรกเกิดจนถึงโคสาวอุมทอง อันประกอบไปดวยหัวขอตางๆ ที่สําคัญ
                   ดังนี้

                       1.  พันธุโคนมที่เลี้ยงในประเทศและสัดสวนของโคขนาดตางๆ  ที่ควรมีในฝูงมาตรฐาน  ที่ทําใหเกิดผล

                        ทางเศรษฐกิจตอการจัดการฟารมโคนม
                       2. การเจริญเติบโตและการพัฒนาของระบบเตานมของลูกโคจนถึงโครุน  ซึ่งจะมีผลตอการเปนแมโค

                        นมที่ใหผลผลิตนมสูงในอนาคต

                       3. การจัดการเลี้ยงดูโคตั้งแตแรกเกิดถึงโคอุมทอง ปญหาที่พบและแนวทางแกไข

                       4. การจัดการฝูงโคสาวขณะคลอดลูก
                       5. น้ําหนัก ความสูงของโคพันธุขาว-ดํา และไทยฟรีเชียนที่เลี้ยงอยางถูกวิธีและเลี้ยงในประเทศไทย

                       6. ชนิดของอาหารและการใหอาหารที่ถูกตองโดยมีวิธีการคํานวณอาหารสําหรับโคนมแตละขนาดอายุ

                        รวมทั้งรูปแบบการจัดสัดสวนอาหาร โดยพิจารณาจากความแตกตางของอาหารหยาบที่มีอยู
                       7. ผลกระทบของการใหอาหารที่ไมถูกตอง กรณีใหมากเกินไปหรือใหนอยเกินไป

                       8. การวางแผนและการคํานวณการใชอาหารหยาบในฟารม

                       9. การใช  Body Condition Scoring มาประเมินการจัดการการใหอาหารในโคนม

                       10. รูปรางลักษณะโคนมที่ดีที่ควรเก็บไวทําพันธุ


                          จากที่ไดกลาวมาแลวเห็นวา หนังสือเทคนิคการจัดการการเลี้ยงโคนมทดแทนเลมนี้นาจะ

                   มีประโยชนและชวยแกปญหาการเลี้ยงดูโคนมทดแทนไดชวงหนึ่ง   ดังนั้นหากจะทําใหเกิดประสิทธิภาพ

                   ครบวงจรในวงการการเลี้ยงโคนม   สมควรอยางยิ่งที่จะมีคูมือหรือเอกสารเทคนิคการเลี้ยงโคนมในชวง

                   ตอไปซึ่งเปนอีกชวงหนึ่งที่สงผลใหเห็นถึงรายไดของเกษตรกรอยางชัดเจน   ไดแก  เทคนิคการจัดการการ
                   เลี้ยงดูแมโคนมซึ่งมีทั้งแมโครีดนมและแมโคแหงนม   ผลกระทบตอการจัดการที่ถูกตองและไมถูกตอง
   85   86   87   88   89   90   91   92   93   94   95