Page 117 -
P. 117
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ภูมิปญญา ประวัติผู้เขียน
การคัดเลือกควายไทย
✩ ควายกับสังคมไทย ชื่อเรื่อง ภูมิปัญญา การคัดเลือกควายไทย
ภูมิปญญา การคัดเลือกควายไทย
✩ การคัดเลือกควายไทย
ชื่อ นายกิตติ กุบแก้ว
กรมปศุสัตว กิตติ กุบแก้ว
กระทรวงเกษตรและสหกรณ
ตำแหน่ง นักวิชาการสัตวบาลชำนาญการพิเศษ รักษาการในตำแหน่ง
ผู้เชี่ยวชาญด้านพัฒนาพันธุ์กระบือ กรมปศุสัตว์
ISBN 978-974-682-350-0 สถานที่ทำงาน สำนักสุขศาสตร์สัตว์และสุขอนามัยที่ 4 กรมปศุสัตว์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ตำบลท่าพระ อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น 40260
ข้อมูลทางบรรณานุกรมหอสมุดแห่งชาติ การศึกษา - มัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนเบ็ญจะมะหาราช จังหวัดอุบลราชธานี
- วท.บ. เกษตรศาสตร์ สาขาสัตวศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ปี 2529
กิตติ กุบแก้ว - วท.ม. เกษตรศาสตร์ สาขาส่งเสริมการเกษตร มหาวิทยาลัยขอนแก่น ปี 2544
ประสบการณ์
ภูมิปัญญา การคัดเลือกควายไทย : กรมปศุสัตว์ 116 หน้า - นักวิชาการสัตวบาลประจำจังหวัดเพชรบูรณ์ มหาสารคาม และขอนแก่น
- นักวิชาการสัตวบาลประจำศูนย์วิจัยและถ่ายทอดเทคโนโลยีมหาสารคาม
1.ควายกับสังคมไทย 2.การคัดเลือกควายไทย - นักวิชาการสัตวบาล ประจำส่วนศึกษาและพัฒนาการปศุสัตว์ สำนักสุขศาสตร์
สัตว์และสุขอนามัยที่ 4 อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น
- มีผลงานการศึกษาทางวิชาการ การศึกษาวิจัย บทความทางวิชาการและการนำเสนอ
ผลงานที่เป็นงานปกติของกรมปศุสัตว์และร่วมกับสถาบันการศึกษา 20 เรื่อง
- มีส่วนร่วมและเป็นคณะทำงานในการจัดงานกระบือแห่งชาติอย่างต่อเนื่อง และ
พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2553
เป็นประธานคณะทำงานฝ่ายแข่งขันภูมิปัญญาไทย ซุ้มเกษตรกร ในงานกระบือ
และโคเนื้อแห่งชาติ ปี 2550- 2553
จำนวน 500 เล่ม
- มีความชำนาญเป็นพิเศษด้านภูมิปัญญาไทยที่เกี่ยวกับการเลี้ยงควาย โคเนื้อ
ไก่พื้นเมือง เกษตรอินทรีย์ด้านปศุสัตว์ และมีความถนัดด้านการส่งเสริมการ
จัดพิมพ์โดย ศูนย์ปศุสัตว์อินทรีย์ เลี้ยงสัตว์ ได้แก่ ควาย โคนม โคเนื้อ และไก่พื้นเมือง
กองบำรุงพันธุ์สัตว์ กรมปศุสัตว์ ผลงานที่ภาคภูมิใจ การมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์และพัฒนาควายไทยมาโดยตลอด เป็นคณะผู้รวบรวม
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ หนังสือ การฝึกคนและฝึกควายไถนา ชุดภูมิปัญญาไทยเกี่ยวกับควาย เป็นคณะทำงานจัดทำหลักสูตร
การสอนคนสอนควาย เป็นคณะทำงานผลิตบทเพลงที่เกี่ยวข้องกับการอนุรักษ์และพัฒนาควายชุด “วิถี
สงวนลิขสิทธิ์ตาม พ.ร.บ. ลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 ควายไทย” และเป็นผู้คิดกติกาและรูปแบบการแข่งขันภูมิปัญญา “การแข่งขันควายไถนา” เป็นคนแรก
และมีส่วนร่วมในการกำหนดกติกาการแข่งขันภูมิปัญญาไทยในงานกระบือและโคเนื้อแห่งชาติ
พิมพ์ที่ โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด