Page 3 -
P. 3

โครงการหนังสืออิเล็คทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






                                                            คํานํา


                          ลําไยมีถิ่นกําเนิดแถบมณฑลฟูเกียน เสฉวน และกวางสีของสาธารณรัฐประชาชนจีน เริ่มนํามา

                   ปลูกในประเทศไทยตั้งแตรัชกาลที่ 5 และปลูกแพรหลายตอมาจนกลายเปนไมผลเศรษฐกิจที่สําคัญชนิด

                   หนึ่งของภาคเหนือตอนบน      ลําไยที่เกษตรกรปลูกมีหลายพันธุและแตละพันธุก็มีลักษณะประจําพันธุ

                   และลักษณะการเกษตรที่แตกตางกัน แตพันธุที่นิยมปลูกมากที่สุดคือพันธุดอ คิดเปนประมาณรอยละ 79
                   ของพื้นที่ปลูกลําไยทั้งประเทศ  เนื่องจากพันธุนี้เปนพันธุเบา  ออกดอกติดผลคอนขางสม่ําเสมอ  แปรรูป

                   เปนลําไยอบแหงและลําไยกระปองได  พันธุอื่นๆที่เกษตรกรปลูกอยูบางไดแก  พันธุแหว  สีชมพู  และ

                   เบี้ยวเขียว  แตเกษตรกรก็มักตัดโคนทิ้งพันธุอื่นๆ  เชน  พันธุสายน้ําผึ้ง  เหลือง  แดง  หรือตลับนาค
                   เนื่องจากไมเปนที่ตองการของตลาด

                           ศูนยวิจัยพืชสวนเชียงรายไดสํารวจ  และรวบรวมพันธุลําไยจากแหลงตางๆ  มาอยางตอเนื่อง

                   โดยมีวัตถุประสงคเพื่อปองกันมิใหสูญพันธุ ใชในการปรับปรุงพันธุ และใชเปนแปลงอางอิงสําหรับการ

                   ยื่นขอขึ้นทะเบียนเปนพันธุใหม   ดังนั้นเอกสารวิชาการ “พันธุลําไย”  เลมนี้จึงเปนเอกสารที่รวบรวม
                   ขอมูลลักษณะประจําพันธุ  และลักษณะการเกษตรของลําไยบางพันธุที่ปลูกในประเทศไทย  ผูเขียนหวัง

                   เปนอยางยิ่งวาขอมูลพันธุกรรมลําไยเหลานี้จะมีประโยชนแกนักวิชาการ  และผูสนใจทั่วไป  ตลอดจน

                   สามารถใชเปนขอมูลในการจําแนกพันธุลําไยได







                                                                                       นิพัฒน  สุขวิบูลย

                                                                                                                                                        กรกฎาคม  2550
   1   2   3   4   5   6   7   8